Page 70 - kpi20680
P. 70

46







                       เท่านั้น ซึ่งหาก สถานการณ์ยังด าเนินต่อไปเช่นนี้ ในอนาคต 10-20 ปีข้างหน้า คุณภาพการศึกษา
                       ของประเทศจะยิ่งต ่าลง  เพราะสถาบันอุดมศึกษาไม่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ตามพันธกิจของ

                       สถาบันอุดมศึกษาได้

                              ในรัฐธรรมนูญนี้จึงก าหนดเกี่ยวกับการประกอบอาชีพของบุคคลว่าจะต้องไม่ถูกจ ากัด  แต่
                       สามารถควบคุมวิชาชีพได้ โดยก าหนดไว้ว่าองค์กรวิชาชีพจะกระท าการใดให้เป็นการขัดขวางหรือ

                       ก้าวก่ายการจัดการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไม่ได้  คุรุสภามีสิทธิที่จะท าการทดสอบความรู้ได้

                       ภายหลังจบการศึกษา  และต้องการประกอบอาชีพ แต่ไม่มีสิทธิและไม่มีอ านาจในการก าหนด
                       หลักสูตรและรับรองสถาบันอุดมศึกษา  สถาบันอุดมศึกษามีกระบวนการในการตรวจสอบและ

                       ก ากับมาตรฐานโดยส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาอยู่แล้ว รวมทั้งมีอิสระและเสรีภาพทาง

                       วิชาการเพื่อท าให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ ไม่ใช่อ านาจหน้าที่ขององค์กรวิชาชีพที่จะเป็นผู้ก ากับดูแล
                       มาตรฐานหลักสูตรแต่มีหน้าที่ในก ากับดูแลเรื่องมาตรฐาน  และทัศนคติของความเป็นครู  รวมทั้ง

                       สร้างครูให้มีความรักและความผูกพันในวิชาชีพครู ทั้งนี้ ผู้ที่จะมาเป็นครู ไม่เฉพาะเจาะจงเป็นผู้ที่

                       เรียนจบในสาขาครุศาสตร์หรือศึกษาศาสตร์เท่านั้น จะจบสาขาใดก็ได้ แต่ต้องเป็นคน ที่มีทัศนคติ

                       และมีจิตวิญญาณของความเป็นครู ซึ่งคุรุสภาควรมีบทบาทหน้าที่ในการจัดฝึกอบรมก่อนผู้เรียนจบ
                       การศึกษา หรือก่อนที่จะให้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู

                              ด้านการศึกษา  ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับเพื่อให้ผู้เรียน  สามารถเรียนได้

                       ตามความถนัด  และปรับปรุงโครงสร้างของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อบรรลุเป้าหมาย  ดังกล่าวโดย

                       สอดคล้องกันทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่
                              การจัดการเรียนการสอนใน  ปัจจุบันพบว่าหลักสูตรไม่ได้ค านึงถึงความแตกต่างเชิงพื้นที่

                       และความต้องการที่แตกต่างกันของเด็กเป็นหลักการจัดท าหลักสูตรจึงไม่เป็นไปตามหลักการและ

                       เจตนารมณ์ที่ต้องการให้มีความแตกต่างตามเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเขตพื้นที่การศึกษาก็ไม่ได้ให้
                       ความส าคัญกับการจัดท าหลักสูตร  แต่เน้นบทบาทหน้าที่การบังคับบัญชา  การก ากับดูแล  รวมทั้ง

                       ก าหนดกลไกให้ครูต้องอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของคณะอนุกรรมการ  ข้าราชการครูและบุคลากร

                       ทางการศึกษาประจ าเขตพื้นที่การศึกษาท าให้ครูไม่อยู่ในฐานะที่จะดูแลตัวเองได้ เช่น ในตัวอย่าง
                       จังหวัดภาคใต้ที่เป็นหลักสูตรในการเสริมสร้างศัยกภาพของชุมชนในพื้นที่ ที่ท าให้เด็กรักบ้านเกิด

                       พร้อมใจกันท าประโยชน์ให้ถิ่นที่อยู่ยังมีรูปแบบน้อยมาก

                              รัฐธรรมนูญต้องการให้ผู้ที่อยู่ในวงการศึกษาซึ่งเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการนี้เป็นอย่างดี
                       แต่ยังไม่  สามารถน าไปปฏิบัติให้เกิดผลเป็นรูปธรรมได้  เพราะกลไกการศึกษาของประเทศแยก

                       ออกเป็นแท่งหรือ  อาณาจักร  โดยทุกอาณาจักรมีเป้าหมายของตนเองและอยู่เฉพาะภายใน  ไม่ได้

                       ค านึงถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นหลัก และไม่ให้ความส าคัญกับแนวทางหรือวิธีการสร้างเด็ก
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75