Page 46 - kpi19164
P. 46

งบประมำณที่เกิดขึ้น ก็ยังไม่สำมำรถแก้ไขได้ จนลุกลำมน ำไปสู่กำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครอง 2475
                   ในที่สุด

                           กำรปรับตัวเข้ำสู่ระบบเศรษฐกิจทุนนิยมและกำรผลิตเพื่อส่งออกได้ส่งผลกระทบต่อ

                   เศรษฐกิจระดับชุมชน จำกเดิมที่เพำะปลูกเพื่อยังชีพ แต่เมื่อระบบเศรษฐกิจได้เปลี่ยนไปสู่กำรส่งออก
                   และ “ข้ำว” ได้กลำยเป็นสินค้ำส ำคัญ ชำวนำที่เคยเป็นแรงงำนในระบบไพร่ ได้กลำยมำเป็นชำวนำ

                   อิสระ และเริ่มจับจองที่ดินและเปลี่ยนพื้นที่รกร้ำง พื้นที่ป่ำให้กลำยเป็น “ที่นำ” ท ำให้ที่ดินได้

                   กลำยเป็นทุนที่ส ำคัญในระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ดูเหมือนเศรษฐกิจส่งออกข้ำวได้น ำสยำมไปสู่กำรก่อ
                   ตัวของระบบที่ดินและผู้เช่ำนำ (ชำวนำ) ส่งผลให้เกิดปัญหำกำรเช่ำที่ดินและหนี้สินทำงกำรเกษตร

                   ชำวนำอิสระเหล่ำนี้ต้องแบกรับภำระหนี้สินที่เกิดจำกกำรลงทุนปลูกข้ำว เช่น ค่ำเช่ำที่ดิน ค่ำซื้อเมล็ด

                   พันธุ์ ค่ำวัวควำย เป็นต้น โดยไปขอกู้จำกนำยทุนจีนและขุนนำงซึ่งคิดอัตรำดอกเบี้ยค่อนข้ำงสูง ท ำให้
                   ชำวนำส่วนใหญ่ประสบปัญหำภำวะหนี้สิน ซึ่งได้กลำยมำเป็นปัญหำเศรษฐกิจที่ส ำคัญของสยำมใน

                   เวลำนั้น  ดังเริ่มมีปรำกฏผลมำตั้งแต่รัชสมัยพระบำทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว รัชกำลที่ 5

                   รัฐบำลสยำมในเวลำนั้นได้ตระหนักต่อปัญหำเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระดับชุมชนและพยำยำมที่จะ
                   ด ำเนินกำรแก้ไขปัญหำดังกล่ำว ในปลำยรัชสมัยของพระองค์ เพื่อแก้ปัญหำหนี้สินของชำวนำ จึงมี

                   ควำมคิดแก้ไขภำวะเศรษฐกิจในกำรครองชีพของชำวนำ โดยพิจำรณำระบบที่จะน ำมำใช้ เช่น ด ำริ

                   กำรจัดตั้งธนำคำรเกษตร (Agricultural Bank) ขึ้น ให้มีสำขำในส่วนภูมิภำค เพื่อให้เงินกู้ช่วยเหลือ
                   แก่ชำวนำ แต่มีปัญหำในเรื่องเงินทุน หลักประกันเงินกู้ และกำรควบคุมไม่ให้ชำวนำที่กู้ยืมเงินทอดทิ้ง

                   ที่นำและหลบหนี้สิน ควำมคิดนี้จึงระงับไป  ต่อมำในสมัยรัชกำลที่ 6 กระทรวงพระคลังมหำสมบัติ

                   ได้เชิญเซอร์ เบอร์นำร์ด ฮันเตอร์ (Sir Bernard Hunter) หัวหน้ำธนำคำรแห่งมัทรำส ประเทศอินเดีย
                   เข้ำมำส ำรวจควำมเป็นไปได้ในกำรปรับเปลี่ยนบทบำทของ “บริษัทแบงค์สยำมกัมมำจล จ ำกัด” เมื่อ

                   ปี พ.ศ. 2457 ซึ่งนำยฮันเตอร์ ได้เสนอแนะกระทรวงกำรคลังมหำสมบัติ จัดตั้ง “ธนำคำรให้กู้ยืม

                   แห่งชำติ (National Loan Bank)” ด ำเนินธุรกิจให้ประชำชนกู้ยืมเงินโดยใช้ที่ดินหรือหลักทรัพย์อื่น
                   ค้ ำประกันเงินกู้ และเสนอให้ชำวนำที่จะเข้ำมำกู้ยืมเงินรวมตัวกันจัดตั้งเป็นสมำคมเพื่อช่วยเหลือกัน

                   และกัน เรียกว่ำ Co-operation ซึ่งจะท ำให้มีหลักประกันที่จะควบคุมให้ชำวนำไม่ทิ้งที่นำและหลบ
                         11
                   หนี้สิน  แต่แนวคิดนี้คณะกรรมกำรของธนำคำรไม่เห็นด้วย เพรำะเกรงว่ำธนำคำรสยำมกัมมำจลจะ
                   กลำยเป็นธนำคำรชำติในรูปแบบของธนำคำรสหกรณ์ แล้วจะไม่มีธนำคำรพำณิชย์ของคนไทย เพื่อ

                                                         12
                   แข่งขันกับธนำคำรต่ำงชำติ ควำมคิดนี้จึงล้มไป   แต่อย่ำงไรก็ตำม ข้อเสนอของนำยฮันเตอร์ได้ท ำให้

                   11  ________ , (2549), สหกรณ์ของพ่อ (พิษณุโลก : ส ำนักงำนสหกรณ์จังหวัดพิษณุโลก), น.22.
                   12  ปรำณี กล่ ำส้ม, (2529) “กำรแก้ปัญหำเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับชำวนำโดยวิธีกำรสหกรณ์ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำ
                   เจ้ำอยู่หัวและพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว”, วิทยำนิพนธ์หลักสูตรปริญญำอักษรศำสตรมหำบัณฑิต ภำควิชำประวัติศำสตร์
                   จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย, น.58.

                                                            37
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51