Page 50 - kpi19164
P. 50

เป็นอธิบดี ต่อมำได้เริ่มจัดงำนส ำคัญขึ้นอีกแผนกหนึ่ง ด้วยค ำนึงว่ำชำวนำเป็นส่วนส ำคัญของกำร
                   พำณิชย์ เพรำะข้ำวเป็นสินค้ำส ำคัญของประเทศ แต่ชำวนำมีหนี้สินมำก ท ำนำได้ข้ำวมำมำกน้อย

                   เท่ำใดก็ต้องขำยใช้หนี้เกือบหมด ถึงกระนั้นหนี้สินก็ยิ่งพอกพูน กรมพำณิชย์และสถิติพยำกรณ์เห็น

                   ด้วยกำรช่วยกู้ฐำนะชำวนำให้พ้นอุปสรรค คือ วิธีกำรจัดตั้งสหกรณ์ ซึ่งก็รวมเข้ำในวิธีกำรส่วนหนึ่ง
                   แห่งกำรอุดหนุนพำณิชย์ของประเทศด้วย ส่วนงำนข่ำวพำณิชย์ก็เป็นงำนอีกแผนกหนึ่งที่มีควำมมุ่ง

                   หมำยที่จะรวบรวมควำมรู้ในกิจกำรทุกอย่ำงทำงพำณิชย์และด ำเนินกำรช่วยเหลือในพำณิชย์ของ

                   ประเทศเจริญยิ่งๆขึ้น นอกจำกงำนต่ำงๆ ดังกล่ำว ก็มีกำรจัดตั้งสถำนจ ำแนกควำมรู้ทำงพำณิชย์ โดย
                   มีควำมมุ่งหมำยที่จะให้ควำมรู้แก่มหำชนผู้ริเริ่มจะกระท ำกำรพำณิชย์ งำนส่วนหนึ่งในแผนกนี้คือ

                   กำรจัดตั้งศำลำแยกธำตุ กรมพำณิชย์ฯ เห็นว่ำต่อไปภำยหน้ำ กำรแยกธำตุจะเป็นส่วนส ำคัญส่วนหนึ่ง

                   แก่กำรค้ำของบ้ำนเมือง เอกชนหรือพ่อค้ำต้องอำศัยควำมรู้ทำงกำรแยกธำตุมำกขึ้นทุกที จึงรับกอง
                   แยกธำตุของกรมกษำปณ์มำขยำยงำนให้ใหญ่ออกไป ได้จัดหำเครื่องมือต่ำงๆจนครบถ้วน และจัดให้

                   มีเจ้ำพนักงำนผู้มีควำมรู้มำประจ ำมำกขึ้นมีชื่อว่ำ "ศำลำแยกธำตุของรัฐบำล” (ปัจจุบัน เรียกว่ำ กรม

                   วิทยำศำสตร์) และเมื่อวันที่ 22 กรกฎำคม พ.ศ. 2460 ประเทศไทยประกำศสงครำมกับประเทศ
                   เยอรมันและฮังกำรีคือ สงครำมโลกครั้งที่ 1 อธิบดีกรมพำณิชย์และสถิติพยำกรณ์ได้รับแต่งตั้งให้เป็น

                   เจ้ำพนักงำนผู้พิทักษ์ทรัพย์ของชนชำติศัตรู พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ ต้องทรง

                   รับหน้ำที่นี้โดยต ำแหน่ง พระองค์ทรงได้รับกำรสรรเสริญว่ำ พิทักษ์ทรัพย์ด้วยควำมสุจริตยุติธรรม
                   และรอบคอบในระหว่ำงที่ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ตั้งกรมพำณิชย์และสถิติพยำกรณ์ขึ้นเป็นกรม

                   ชั้นมีอธิบดีเป็นหัวหน้ำรำชกำรบำงอย่ำงได้หยุดชะงักไปชั่วครำว เพรำะอธิบดีและข้ำรำชกำรหลำย

                   คนในกรมฯ ติดรำชกำรผู้พิทักษ์ทรัพย์ศัตรูซึ่งต้องใช้เวลำเป็นปีๆ แต่เมื่อรำชกำรผู้พิทักษ์ทรัพย์ค่อย
                   เรียบร้อยลงก็เริ่มแข่งขันทำงกำรพำณิชย์ต่อไป กรมพำณิชย์ฯ ได้ขยำยงำนกว้ำงขวำงออกไปอีกหลำย

                   แผนกด้วยอธิบดีกรมพำณิชย์ฯ ทรงเห็นกำรณ์ไกลว่ำ พำณิชย์ของประเทศย่อมขยำยวงกว้ำงออกไป

                   ทุกทีตำมควำมเจริญของบ้ำนเมือง และมีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำฯ ประกำศแต่งตั้งกรม
                   พำณิชย์และสถิติพยำกรณ์ขึ้นเป็น "กระทรวงพำณิชย์” เมื่อวันที่ 20 สิงหำคม พ.ศ. 2463 ให้อยู่ควำม

                   ควบคุมของสภำเผยแพร่พำณิชย์ ทรงพระกรุณำโปรดเกล้ำฯ ตั้งให้พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมื่น

                   พิทยำลงกรณ์เป็นอุปนำยกแห่งสภำนั้น ในปี พ.ศ. 2464 ได้มีพระบรมรำชโองกำรโปรดเกล้ำฯ ตั้งให้
                   พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์เป็น รองเสนำบดี กระทรวงพำณิชย์ ทรงมีต ำแหน่งในที่

                   ประชุมเสนำบดีสภำตั้งแต่ พ.ศ. 2463 จนถึงเดือนพฤศจิกำยน พ.ศ. 2468 อันเป็นกำรประชุม






                   บัญชี (ปัจจุบันกรมบัญชีกลำง) กระทรวงกำรคลังฯ มำด ำรงต ำแหน่ง อธิบดีกรมพำณิชย์และสถิติพยำกรณ์ กรมนี้มีรำชกำรส ำคัญอยู่ 3
                   ส่วน คือ 1) กำรพำณิชย์ 2) กำรสถิติพยำกรณ์ และ 3) กำรสหกรณ์ (น.16-17)

                                                            41
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55