Page 45 - kpi19164
P. 45

ใดในชนบทส ำหรับช่วยเหลือชำวนำ ชำวนำจึงต้องพึ่งเงินกู้จำกคหบดีหรือพ่อค้ำปล่อยเงินกู้ ซึ่งเรียก
                   ดอกเบี้ยในอัตรำที่สูงมำก และบำงรำยก็ใช้วิธีกำรตกข้ำวและตกพืชผลอื่นๆ ด้วย ภำวะเช่นนี้ท ำให้

                   ชำวนำเสียเปรียบอย่ำงมำก จึงเป็นกำรยำกที่จะปลดหนี้สินของตนโดยล ำพัง เพรำะต้องเสียดอกเบี้ย

                              7
                   ในอัตรำที่สูง  และประกอบกับในสมัยนั้นกำรท ำนำขึ้นกับฝนฟ้ำอำกำศ ท ำให้กำรลงทุนเพื่อกำรท ำ
                   นำค่อนข้ำงเสี่ยง  อย่ำงเช่น ช่วงปี พ.ศ. 2453 ฝนตกก่อนฤดูกำลปริมำณน้ ำมีมำกท ำให้มีน้ ำป่ำไหล

                   เข้ำท่วมที่นำ ต้นข้ำวกล้ำที่ปักด ำและหว่ำนไว้ได้รับควำมเสียหำย ท ำให้เกิดกำรขำดแคลนอำหำร

                                                                                                     8
                   ต่อเนื่องมำในปี พ.ศ. 2454 เกิดฝนแล้งชำวนำท ำนำไม่ได้ผล ผลผลิตลดลงเนื่องจำกขำดแคลนน้ ำ
                   โดยเฉลี่ยควำมเสียหำยจำกภำวะธรรมชำติเกิดขึ้นเฉลี่ยทุกๆ 3 ปี ซึ่งทุกครั้งที่เกิดควำมเสียหำย

                   ผลผลิตลดลง ท ำให้ชำวนำไม่มีเงินเสียภำษี ท ำให้รัฐต้องผ่อนผันหรือยกเว้นให้ หรือต้องเกณฑ์มำ

                                                                                                 9
                   ท ำงำนหลวงเพื่อใช้หนี้ภำษี เพื่อบรรเทำควำมเดือนร้อนของชำวนำ ส่งผลให้รำยได้ของรัฐลดลง  และ
                   ช่วงที่ พ.ศ. 2460-2462 ได้เกิดควำมผิดปกติทำงธรรมชำติอีก ส่งผลกระทบก่อให้เกิดควำมเสียหำย

                   ในกำรปลูกข้ำวอย่ำงหนัก ควำมไม่ปกติของฤดูกำลอยู่บ่อยครั้ง ท ำให้ผลผลิตที่ชำวนำลงทุนได้รับ

                   ควำมเสียหำย จึงท ำให้หนี้สินที่กู้ยืมมำ ก็ไม่สำมำรถใช้คืนได้ ฐำนะของชำวนำก็ยิ่งย่ ำแย่ลงจนต้องไป
                   กู้เงินเพิ่ม สภำพเศรษฐกิจของชำวนำที่ไม่สำมำรถปรับตัวกับระบบเศรษฐกิจแบบเงินตรำได้ ท ำให้

                   ชำวนำต้องเป็นหนี้ และประสบกับควำมยำกล ำบำกในกำรด ำรงชีวิต ประกอบกับในช่วงนั้นเกิดภำวะ

                   แห้งแล้งในต่ำงประเทศด้วย ท ำให้ควำมต้องกำรผลผลิตข้ำวในต่ำงประเทศเพิ่มสูงขึ้น จึงมีกำรส่งข้ำว
                   ไทยไปขำยยังต่ำงประเทศจ ำนวนมำก เมื่อผลผลิตได้น้อยและส่งออกไปขำยยังต่ำงประเทศจ ำนวน

                   มำก ส่งผลให้เกิดภำวกำรณ์ขำดแคลนข้ำวบริโภคภำยในประเทศและท ำให้ข้ำวมีรำคำแพงขึ้น จน
                                                             10
                   รัฐบำลต้องประกำศห้ำมส่งข้ำวออกนอกประเทศ  ซึ่งตรงนี้ยิ่งส่งผลให้เงินคงคลังของรัฐบำลลด
                   น้อยลง เพรำะข้ำวเป็นสินค้ำออกที่สร้ำงรำยได้ส ำคัญ  ปัญหำเศรษฐกิจนี้ยืดเยื้อมำต่อเนื่องมำจนถึง

                   สมัยรัชกำลที่ 7 และยิ่งทวีควำมรุนแรงยิ่งขึ้น ประกอบกับเกิดสภำพเศรษฐกิจตกต่ ำทั่วโลกในช่วง

                   พ.ศ.2473-2475 ท ำให้รำคำข้ำวตกลง รำยได้ของรัฐบำลลดลง ก่อให้เกิดปัญหำกำรคลังอย่ำงหนัก
                   แม้รัฐบำลในขณะนั้นได้พยำยำมใช้มำตรกำรต่ำงๆ เพื่อแก้ไขปัญหำเศรษฐกิจและกำรขำดเงิน







                   7  กรมส่งเสริมสหกรณ์, (2519), หลักการของสหกรณ์และการส่งเสริมสหกรณ์ในประเทศไทย (กรุงเทพฯ: กองวิชำกำร กรมส่งเสริม
                   สหกรณ์), น.15-16.
                   8  ส ำนักหอจดหมำยเหตุแห่งชำติ, เอกสำร ร.6 กษ. 1/3 หนังสือเจ้ำพระยำวงษำนุประพัทธ์ เสนำบดีกระทรวงเกษตรำธิกำร กรำบ
                   บังคมทูลพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว, 5 พฤษภำคม พ.ศ. 2453.
                   9  ส ำนักหอจดหมำยเหตุแห่งชำติ, เอกสำร ร.6 ค.8/2 รำยงำนกำรใช้จ่ำยเงินแผ่นดิน นำยวิลเลียมสัน พ.ศ.2462.
                   10  ส ำหนักหอจดหมำยเหตุแห่งชำติ, จดหมำยเหตุสภำเผยแพร่พำณิชย์ กำรก ำกับตรวจตรำข้ำวปี พ.ศ. 2462-2463 มิถุนำยน พ.ศ.
                   2463, หน้ำ 15.

                                                            36
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50