Page 44 - kpi19164
P. 44

3
                   ควำมซับซ้อนและไปผูกพันกับระบบเศรษฐกิจโลกมำกขึ้น “ข้ำว”  ซึ่งกลำยเป็นสินค้ำส่งออกที่ส ำคัญ
                   ที่เป็นที่ต้องกำรของตลำดต่ำงประเทศ เช่น ฮ่องกง สิงคโปร์ ระหว่ำง พ.ศ. 2413 – 2475 ปริมำณ

                   กำรส่งออกข้ำวเพิ่มขึ้นเกือบ 20 เท่ำ พื้นที่เพำะปลูกเพิ่มขึ้นหลำยเท่ำ ระหว่ำง พ.ศ. 2433 – 2472

                                                                            4
                   มูลค่ำกำรส่งออกข้ำวเพิ่มขึ้นจำก 34.7 ล้ำนบำท เป็น 70.8 ล้ำนบำท  ปรำกฏกำรณ์ดังกล่ำวได้ท ำให้
                   สยำมเปลี่ยนแปลงอย่ำงสิ้นเชิง ในช่วงทศวรรษ 2450 เนื้อที่ปลูกข้ำวมีเพียง 5 – 6 ล้ำนไร่ กระจุกตัว

                   ตำมเขตอยุธยำ-กรุงเทพฯ และล ำน้ ำเขตรอบนอก และได้ขยำยเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 3 แสนไร่ โดยขยำย

                   จำกศูนย์กลำงตำมเขตอยุธยำ-กรุงเทพฯ ออกไปจนครอบคลุมที่รำบลุ่มแม่น้ ำเจ้ำพระยำทั้งหมด
                   หลังจำกสร้ำงทำงรถไฟแล้ว เนื้อที่ปลูกข้ำวได้ขยำยไปตำมลุ่มน้ ำภำคเหนือและที่รำบฝั่งแม่น้ ำมูล-ชีใน

                   ภำคอีสำน กำรปลูกข้ำวในระบบเศรษฐกิจส่งออก ได้ท ำให้เกิดกำรก่อตัวของ “กลุ่มชำวนำอิสระ”

                   ขึ้นมำ เป็นผลจำกกำรขยำยพื้นที่ปลูกข้ำว นับตั้งแต่ทศวรรษ 2400 เป็นต้นมำ ได้มีกำรขุดคลองและ
                   จับจองที่ดิน (จำกกำรขุดคลอง) ในระยะแรก พื้นที่ที่เกิดขึ้นตำมแนวคลองขุดใหม่ ดึงดูดชำวไร่ชำวนำ

                   เข้ำมำตั้งถิ่นฐำน และยิ่งเมื่อควำมต้องกำรข้ำวในตลำดต่ำงประเทศมีสูงขึ้น กำรส่งออกข้ำวเพิ่มสูง

                   มำกขึ้นได้กลำยเป็นตัวเร่งกระบวนกำรจับจองที่ดิน ท ำให้ชำวนำเข้ำมำบุกเบิกจับจองที่ดินกันอย่ำง
                           5
                   มำกมำย  อำจกล่ำวได้ว่ำ ตั้งแต่ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 เขตเจ้ำที่ดินขนำดใหญ่เป็นแหล่งผลิตข้ำว
                   เพื่อส่งไปตลำดโลก จำกทศวรรษ 2440 เป็นต้นมำ ชำวนำบุกเบิกเขตรอบนอกเพิ่มจ ำนวนอย่ำง

                   รวดเร็ว มำถึงทศวรรษ 2470 พื้นที่ภำยใต้กำรถือครองของชำวนำบุกเบิกกลำยเป็นพื้นที่กว้ำงใหญ่
                   กว่ำและมีควำมส ำคัญมำกกว่ำ ในปี พ.ศ.2480 พบว่ำ พื้นที่ประมำณสำมในสี่ของที่นำทั้งหมดในภำค

                   กลำงเป็นของชำวนำบุกเบิกอิสระรำยย่อย ภำคเหนือร้อยละ 80 เป็นของชำวนำรำยย่อย ส่วนภำค
                                                                         6
                   ตะวันออกเฉียงเหนือและภำคใต้ครอบครองมำกที่สุดถึงร้อยละ 98
                           เมื่อกำรขยำยพื้นที่ในกำรเพำะปลูกมำกขึ้น ท ำให้ควำมต้องกำรเงินทุนของชำวนำเพิ่มมำก

                   ขึ้น เพรำะเมื่อมีกำรขยำยที่ดินออก กำรบุกเบิกที่ดินจ ำเป็นต้องใช้เงินส ำหรับบ ำรุงดิน ซื้อพันธุ์ข้ำว โค

                   กระบือ เครื่องมือต่ำงๆ ตลอดจนกำรใช้จ่ำยเป็นค่ำแรง ซึ่งชำวนำส่วนใหญ่ไม่ได้มีเงินจ ำนวนมำก
                   ดังนั้น ชำวนำในระบอบเศรษฐกิจเพื่อกำรค้ำต้องกำรให้ทุนและเงินกู้ แต่เดิมไม่เคยมีองค์กำรเครดิต




                   3  ข้ำวจำกสยำมมีชื่อเสียงมำอย่ำงช้ำนำน นับแต่กำรค้ำส ำเภำกับจีน ข้ำวจำกสยำมได้ส่งไปขำยยังรัฐมลำยู เกำะอินโดนีเซีย และเมือง
                   ท่ำของจีน แต่เป็นในปริมำณที่ไม่มำกนัก ปริมำณกำรส่งข้ำวเพิ่มมำกขึ้นอย่ำงเห็นได้ชัดในช่วงกลำงทศวรรษ 2410 เป็นต้นมำ ซึ่งเป็น
                   ผลมำจำกแรงกระตุ้นของอุปสงค์ที่เพิ่มขึ้นและต้นทุนค่ำขนส่งทำงเรือที่ลดลง อ้ำงใน ผำสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์, พิมพ์ครั้งที่
                   3, เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ (กรุงเทพฯ: ส ำนักพิมพ์ซิลด์เวอร์ม, 2546), น. 18.
                   4  พอพันธ์ อุยยำนนท์, (2558), เศรษฐกิจไทยในสมัยรัชกาลที่ 7: รักษาเสถียรภาพ ปูพื้นฐานการพัฒนา (กรุงเทพฯ: โครงกำร
                   จัดพิมพ์คบไฟ), น.3.
                   5  ผำสุก พงษ์ไพจิตร และคริส เบเกอร์, พิมพ์ครั้งที่ 3, เศรษฐกิจการเมืองไทยสมัยกรุงเทพฯ, น.19-21.
                   6  เรื่องเดียวกัน, น.33-34.


                                                            35
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49