Page 53 - kpi19164
P. 53

จ ำกัด ซึ่งเป็นธนำคำรพำณิชย์ของคนไทยส่วนใหญ่ที่ถือหุ้น ประสบปัญหำวิกฤติกำรเงิน ท ำให้
                   กระทรวงพระคลังมหำสมบัติต้องเข้ำไปช่วยเหลือด้ำนกำรเพิ่มหุ้นและลงทุนให้ ซึ่งในขณะนั้นกำร

                   ด ำเนินธุรกิจของธนำคำรด ำเนินกำรในธุรกิจธนำคำรซื้อขำยเงิน (Exchange Bank) แต่กำร

                   ด ำเนินงำนประสบปัญหำกำรแข่งขันกับธนำคำรต่ำงชำติอื่นๆ ท ำให้รัฐบำลคิดที่จะปรับปรุงกำร
                   ด ำเนินธุรกิจจำกธนำคำรซื้อขำยเงิน เป็นธนำคำรท ำธุรกิจกำรกู้ยืมเงิน (Loan Bank) เหมือนกันกับ

                   ธนำคำรเบงกอล ธนำคำรมัทรำส และธนำคำรบอมเบย์ ประเทศอินเดีย ดังนั้นในปี พ.ศ.2457

                   กระทรวงพระคลังมหำสมบัติได้เชิญนำยเบอร์นำร์ด ฮันเตอร์ (Bernard Hunter) หัวหน้ำธนำคำร
                   แห่งมัทรำส ประเทศอินเดีย เข้ำมำส ำรวจควำมเป็นไปได้ในกำรปรับเปลี่ยนบทบำทของบริษัทแบงค์

                   สยำมกัมมำจล จ ำกัด ซึ่งขณะประสบปัญหำภำวะกำรเงินและกระทรวงพระคลังมหำสมบัติต้องเข้ำไป

                                                         18
                   ช่วยเหลือ โดยข้อเสนอของนำยฮันเตอร์ มีดังนี้
                           (1) ให้รัฐบำลพยำยำมชักชวนให้บริษัทแบงค์สยำมกัมมำจล จ ำกัด โอนหุ้นเข้ำร่วมกับ

                              ธนำคำรที่จะจัดตั้งใหม่ (ธนำคำรให้กู้ยืมเงินแห่งชำติ – National Loan Bank) และ

                              กระทรวงพระคลังมหำสมบัติ เพื่อด ำเนินธุรกิจให้ประชำชนกู้ยืมเงิน โดยใช้ที่ดินหรือ
                              หลักทรัพย์อื่นค้ ำประกัน แต่ข้อเสนอนี้เป็นอันต้องยกเลิกไป เนื่องจำกคณะกรรมกำร

                              ของบริหำรของบริษัท แบงค์สยำมกัมมำจล จ ำกัดไม่เห็นด้วย

                           (2) ให้ชำวนำที่เข้ำมำกู้ยืม รวมตัวกันจัดตั้งเป็น สมำคม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกันที่
                              เรียกว่ำ Co-operation ซึ่งจะเป็นหลักประกันที่ควบคุมมิให้ชำวนำที่กู้ยืมเงินละทิ้งที่ดิน

                              และหลบหนี้สิน

                           อย่ำงไรก็ตำม แม้ว่ำข้อเสนอของนำยฮันเตอร์ที่จะจัดตั้งธนำคำรแห่งชำติขึ้นมำได้ตกไป แต่
                   ได้ท ำให้กระทรวงพระคลังมหำสมบัติสนใจที่จะท ำวิธีกำรสหกรณ์เข้ำมำใช้ในประเทศไทย พระ

                   รำชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ ในขณะนั้นด ำรงต ำแหน่งเป็นอธิบดีกรมพำณิชย์ฯ ได้ทรงเป็น

                   ประธำนในกำรพิจำรณำคัดเลือกวิธีกำรสหกรณ์ในต่ำงประเทศมำปรับปรุงให้เหมำะสมกับประเทศ
                   ไทยในเวลำนั้น ในที่สุดทรงเห็นว่ำ สหกรณ์เครดิตแบบไรฟ์ไฟเซน จำกประเทศเยอรมนี เป็นแบบที่

                   เหมำะสมกับสภำพชำวนำและภำวะเศรษฐกิจของประเทศไทยยิ่งกว่ำแบบอื่นๆ เหมำะแก่กำรจะ

                   ช่วยเหลือปัญหำหนี้สินของชำวนำรำยย่อย และเหมำะกับสภำพสังคมชนบทที่มีบ้ำนใกล้เรือนเคียง มี
                   ควำมสนิทสนมรู้จักมักคุ้นกันเป็นอย่ำงดี (ส่วนใหญ่เป็นเครือญำติ) จะท ำให้สำมำรถควบคุมดูแลซึ่ง

                   กันและกันได้ และช่วยลดปัญหำทิ้งที่ดินท ำกินและหลบหนีหนี้สิน เพรำะสมำชิกจะดูแลกันเอง ดังนั้น

                   ในกำรประชุมสมุหเทศำภิบำลประจ ำปี พ.ศ. 2458 รัฐบำลได้แถลงวิธีกำรช่วยเหลือกำรขำดแคลน
                   ทุนของชำวนำตำมวิธีสหกรณ์ โดยรัฐบำลได้เลือกหลักกำรและวิธีด ำเนินงำนสหกรณ์แบบลักษณะ



                   18  ________ , (2549), สหกรณ์ของพ่อ, น.21-22

                                                            44
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58