Page 58 - kpi19164
P. 58
เสียหำย อีกปีหนึ่งท ำนำไม่ได้ สหกรณ์จึงได้เงินคืนจำกชำวนำน้อย และสหกรณ์มีเงินคืนให้
ธนำคำรได้น้อยเช่นกัน งำนสหกรณ์จึงขยำยตัวได้อย่ำงล ำบำก
ควำมส ำคัญของกำรตั้งสหกรณ์อีกประกำรหนึ่ง คือ ต้องกำรลดบทบำทของนำยทุน
เงินกู้ในท้องถิ่นลง เพรำะก่อนหน้ำนี้ก่อนที่มีสหกรณ์ นำยทุนเป็นแหล่งเงินกู้เพียงแห่งเดียว
ส ำหรับชำวนำ และเป็นข้อส ำคัญในกำรด ำเนินกิจกำรสหกรณ์ คือ กำรหำเงินทุนให้กับ
ชำวนำกู้ยืมในอัตรำดอกเบี้ยที่ต่ ำ คือ อัตรำร้อยละ 12 ต่อปี ในขณะที่กฎหมำยก ำหนดให้คิด
อัตรำดอกเบี้ยร้อยละ 15 ต่อปี แต่ถ้ำโดยทั่วไป รำษฎรกู้จำกพ่อค้ำนำยทุน (เอกชน) เสีย
อัตรำดอกเบี้ยสูงถึงร้อยละ 20-30 ต่อเงินกู้ 100 บำท โดยเฉพำะยิ่งช่วงภำวะเศรษฐกิจ
ตกต่ ำ (พ.ศ. 2473 – 2475) อัตรำดอกเบี้ยสูงถึงโดยเฉลี่ยร้อยละ 25-60 กำรที่อัตรำ
ดอกเบี้ยคงตัว ไม่ลดลง แสดงให้เห็นว่ำ จ ำนวนชำวนำที่มีหนี้สินและกู้ยืมเงินมีเพิ่มขึ้น ส่วน
ใหญ่กำรกู้เงินก็เพื่อมำลงทุนในกำรซื้อเครื่องมือเครื่องใช้ในกำรเพำะปลูก ซื้อที่ดิน และเพื่อ
ใช้หนี้สินเดิม รวมถึงที่ท ำให้ชำวนำไม่มีเงินเก็บ แม้ในช่วงที่มีรำยได้จำกผลผลิต เพรำะกำรใช้
จ่ำยฟุ่มเฟือย น ำไปเล่นกำรพนัน และงำนสังคม (งำนอุปสมบทและงำนศพ)
27
(3) ชำวนำยังขำดควำมรู้ควำมเข้ำใจหลักเกณฑ์ของสหกรณ์ ส่วนใหญ่เข้ำมำเป็นสมำชิกเพรำะ
ต้องกำรกู้เงินในอัตรำดอกเบี้ยต่ ำ จำกค ำชี้แจงเรื่องสหกรณ์ของกรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ ที่
แสดงแก่สมำชิกสหกรณ์ประเภทหำทุน ที่จังหวัดลพบุรี เมื่อวันที่ 10 กุมภำพันธ์ พ.ศ. 2466
ควำมว่ำ “....คนที่มารวมกันเข้าเป็นสหกรณ์ประเภทหาทุนนี้ โดยมากความมุ่งหมายใน
ชั้นแรกมีอยู่ คือ จะกู้เงินดอกเบี้ยต่่ามาใช้หนี้เก่าซึ่งต้องเสียดอกเบี้ยสูง และเมื่อเหลือใช้
28
หนี้แล้วก็เอาไว้เป็นทุนท่านาต่อไปบ้าง” และที่ส ำคัญ ขำดพลังของชุมชน (ชำวนำ) ใน
กำรสนับสนุนงำนสหกรณ์ เพรำะหลักส ำคัญคือกำรรับผิดชอบร่วมกันในหนี้สินของสมำชิก
ท ำให้ชำวนำต่ำงเกิดควำมหวำดกลัวต่อควำมรับผิดชอบ อีกทั้งมีกำรโฆษณำชวนเชื่อจำก
กลุ่มนำยทุนท้องถิ่นว่ำ ไร่นำของชำวนำจะตกเป็นของหลวง และอื่นๆ อีก จึงยิ่งท ำให้ชำวนำ
หวำดกลัวและรวมตัวกันไม่ติด
พบได้ว่ำ ในช่วงเวลำประมำณ 10 ปี ตั้งแต่กำรก่อตั้งสหกรณ์ในสมัยรัชกำลที่ 6 กำรจัดตั้ง
สหกรณ์มีเพียงไม่กี่จังหวัด (คือ พิษณุโลกและลพบุรี) และไม่สำมำรถเข้ำไปช่วยเหลือชำวนำที่
เดือดร้อนเรื่องเงินทุนส่วนใหญ่ของประเทศได้ เมื่อเปรียบเทียบกับจ ำนวนชำวนำในขณะนั้นที่มีนับ
27 คำร์ล ซี. ซิมเมอร์แมน, (2525), แปลโดย นำยซิม วีระไวทยะ, การส ารวจเศรษฐกิจในชนบทแห่งสยาม (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงกำร
ต ำรำสังคมศำสตร์และมนุษยศำสตร์, เอกสำรทำงวิชำกำร หมำยเลข 2/013), น. 116-117.
28 พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์, งำนพระรำชทำนเพลิงศพพระรำชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์, น. 19-22 อ้ำงถึงใน
ปรำณี กล่ ำส้ม, (2529) “กำรแก้ปัญหำเศรษฐกิจที่เกี่ยวกับชำวนำโดยวิธีกำรสหกรณ์ในรัชสมัยพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำ
เจ้ำอยู่หัวและพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำเจ้ำอยู่หัว”, น. 84.
49