Page 60 - kpi19164
P. 60

เรื่องน้ ำ เนื่องจำกน้ ำไม่พอใช้ จึงเกิดปัญหำกำรปลูกข้ำว เพรำะเมื่อฝนตกน้ ำไหลลงไปตำมคลองหมด
                   ได้แนะน ำให้ประชำชนท ำเหมืองฝำยทดน้ ำ ส ำหรับพื้นที่ที่สภำพไม่เหมำะสมกับกำรท ำนำ ประชำชน

                                                31
                   ก็หันไปท ำพืชอื่นๆ ที่เหมำะสมกว่ำ

                           “...การอาชีพต่างๆ ของชาวนาสยามตกอยู่ในมือของชาวจีน ชาวนาเป็นผู้ท าจริง แต่ผลก าไร

                   นั้นกลับเป็นแก่ชาวต่างประเทศเสีย... การที่การท านาสินค้าเข้า เรานั้นได้ตกอยู่ในมือชาวต่างประเทศ
                   เกือบหมด รัฐบาลได้รู้สึกดี เจ้ากระทรวงจึงได้จัดตั้งสหกรณ์ชาวนาขึ้นที่มณฑลอยุธยาและพิษณุโลก

                   แต่ถึงกระนั้นก็ยังเป็นการทดลองก าลังอยู่ หาได้จัดขยายออกไปให้ทั่วทุกมณฑลเป็นผลเพียงพอไม่

                      32
                   ...”

                           เหตุผลที่จัดตั้งสหกรณ์ที่จังหวัดพิษณุโลก เพรำะเห็นว่ำ ฐำนะควำมเป็นอยู่ประชำชน
                   ค่อนข้ำงต่ ำและขัดสน  ทั้งยังมีเกษตรกรมำก่อร้ำงสร้ำงตัวใหม่ นอกจำกนี้พื้นที่ภำคเหนือยังมีพื้นที่

                                                                               33
                   ว่ำงพอจับจองท ำนำได้อีกมำก ส่งเสริมให้มีกำรหักร้ำงถำงพงกันต่อไป  ในตอนปลำยรัชกำลที่ 5
                   และต่อเนื่องถึงรัชกำลที่ 6 เกิดฝนแล้งและน้ ำท่วมติดต่อกันหลำยครั้ง กล่ำวคือ พ.ศ.2451 เกิดน้ ำ
                   ท่วม พ.ศ.2453 เกิดฝนแล้ง ปีต่อมำน้ ำท่วมอีก  ภำวกำรณ์เช่นนี้ท ำให้กำรผลิตข้ำวของชำวนำลดลง
                                                          34
                   มีผลให้กำรค้ำทรุดโทรมลงด้วย หนี้สินและกำรสูญเสียที่ดินของชำวนำมีสูงมำกขึ้น เจ้ำพระยำวงษำนุ

                   ประพันธ์ เสนำบดีกระทรวงเกษตรำธิกำรได้กรำบบังคมทูลถวำยรำยงำนเรื่องนี้ต่อพระบำทสมเด็จ
                   พระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ต่อจำกนั้นได้เสนอแนวทำงแก้ไขปัญหำด้วยวิธีกำรต่ำงๆ หนึ่งในนั้น คือ

                   กำรก่อตั้งสหกรณ์และธนำคำรให้กู้ยืมแห่งชำติ แต่ไม่ปรำกฏว่ำรัฐบำลได้เร่งรัดให้ปฏิบัติกำรในเรื่องนี้

                   จนกระทั่ง พ.ศ.2458 รัฐบำลได้แถลงขึ้นในที่ประชุมสมุหเทศำภิบำลประจ ำปีว่ำ จะใช้วิธีสหกรณ์เข้ำ
                   ช่วยเหลือและแก้ปัญหำกำรขำดแคลนทุนของชำวนำ โดยรัฐบำลแถลงว่ำ สหกรณ์นอกจำกจะ

                   สำมำรถบรรเทำปัญหำกำรขำดแคลนทุนของชำวนำแล้ว ยังให้กำรศึกษำและอบรมในด้ำนศีลธรรม
                         35
                   อีกด้วย
                           ใน พ.ศ. 2459 รัฐบำลได้ทดลองจัดตั้งสหกรณ์แห่งแรกขึ้นที่เมืองพิษณุโลกชื่อว่ำ “สหกรณ์

                                        36
                   วัดจันทน์ไม่จ ำกัดสินใช้”  อ ำเภอเมืองพิษณุโลก สำเหตุที่เลือกตั้งขึ้นที่นี่ พิจำรณำจำกองค์ประกอบ

                   31  อ้ำงแล้ว
                   32  กองจดหมำยเหตุแห่งชำติ, ร.6 น.20.6/92 หนังสือพิมพ์ยำมำโต. 25 เมษำยน พ.ศ. 2466 หน้ำ 25.
                   33  ประพันธ์ เศวตนันทน์ (2541), เศรษฐศาสตร์สหกรณ์, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย), น.87
                   34  สุกัญญำ บ ำรุงสุข, “สหกรณ์: สมัยพระบำทสมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว” สะพาน เล่ม 2 (พระนคร: โรงพิมพ์สนิทพันธ์กำรพิมพ์
                   , 2521), หน้ำ 22.
                   35  กองจดหมำยเหตุแห่งชำติ, ร.6 ค.16/1, “รำยงำนแผนกสหกรณ์”.
                   36  “ไม่จ ำกัดสินใช้” หมำยควำมว่ำ สมำชิกสหกรณ์ทุกคนต้องรับผิดชอบในหนี้สินร่วมกันของสหกรณ์โดยไม่จ ำกัด จึงต่อท้ำยชื่อ
                   สหกรณ์ว่ำ “ไม่จ ำกัดสินใช้” ปัจจุบันใช้เพียงค ำว่ำ “ไม่จ ำกัด”

                                                            51
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65