Page 51 - kpi19164
P. 51
เสนำบดีครั้งสุดท้ำยในรัชกำลที่ 6 จนใน พ.ศ. 2458 ได้รั้งต ำแหน่งอธิบดี “กรมพำณิชย์และสถิติ
พยำกรณ์” สังกัดกระทรวงพระคลังมหำสมบัติ
ภาพที่ 1: พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ ภาพที่ 2 : พระรำชวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้ำรัชนี
แจ่มจรัส กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ และพระชำยำ
ที่มา: กิตติพงษ์ วิโรจน์ธรรมำกูร. ย้อนรอยรำชสกุลวงศ์ "วังหน้ำ-วังหลัง". กรุงเทพ : ส ำนักพิมพ์ดอกหญ้ำ, พ.ศ.
2549. 216 หน้ำ.
ต่อมำในปี พ.ศ. 2465 สภำนำยกแห่งสภำเผยแผ่พำณิชย์ได้มีรับสั่งให้ พระรำชวรวงศ์เธอ
กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ ผู้เป็นนำยทะเบียนสหกรณ์พร้อมด้วยมิสเตอร์เลอเมย์ที่ปรึกษำหลวงพิจำรณ์
พำณิชย์ และหลวงประกำศสหกรณ์ออกไปดูงำนสหกรณ์ที่ประเทศพม่ำและอินเดียเป็นเวลำ 5 เดือน
เศษ เมื่อเสร็จกลับทรงเขียนรำยงำนเสนอต่อสภำนำยกในเรื่องสหกรณ์แบบต่ำงๆ ที่เสด็จไปพิจำรณำ
มำ ทรงชี้แจงว่ำสหกรณ์ในสองประเทศนั้นมีประเทศใดบ้ำง ประเทศไหนควรจะน ำมำจัดได้ใน
ประเทศนี้ ก็ได้ทรงรำยงำนไว้ถี่ถ้วนตอนหนึ่งในรำยงำนนั้นทรงกล่ำวว่ำ ประเทศเรำเครำะห์ดีที่จัด
สหกรณ์ด้วยควำมรอบคอบที่สุดและจัดที่หลังประเทศอื่นๆ แทบทั่วโลก ข้อบกพร่องต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น
ในเรื่องสหกรณ์ เรำจึงป้องกันได้ทุกทำง ด้วยทรำบเยี่ยงอย่ำงควำมบกพร่องที่เกิดขึ้นแล้วแก่สหกรณ์
ประเทศนั้นๆ เช่น กำรควบคุมทำงกฎข้อบังคับและทำงกฎหมำยเป็นต้น ในที่สุดทรงยืนยันว่ำ
สหกรณ์ที่จัดขึ้นในประเทศไทยนี้ไม่ผิดพลำดอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งเลย
นอกจำกงำนสหกรณ์ที่พระรำชวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยำลงกรณ์ ทรงเป็นผู้ปูพื้นฐำนและ
ทรงเป็นก ำลังส ำคัญในกำรเผยแผ่แล้ว พระองค์ท่ำนยังทรงมีหน้ำที่ส ำคัญๆ ที่เป็นประโยชน์แก่
42