Page 73 - kpi18358
P. 73

สนใจในเรื่องเดียวกันได้ เช่น เกษตรกรสามารถมีหน้าต่างส่วนตัวที่จะบอกสภาวะราคาข้าว ข้อมูล

               การพยากรณ์ หรือข่าวสารพันธ์ข่าวใหม่ ๆ เป็นต้น


                       จากการให้บริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ อาจสามารถน ามาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาระบบการตรวจ


               ราชการได้ ซึ่งในปัจจุบันส านักตรวจราชการส านักนายกรัฐมนตรีได้มีเว็บไซต์ในการเผยแพร่ข้อมูลของ

               การตรวจราชการแล้ว ในการพัฒนาต่อไปในอนาคตของเว็บไซต์อาจไม่ใช่เพียงการเผยแพร่ข้อมูลแต่ควร

               เป็นพื้นที่ให้ประชาชนสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนหรือปัญหาความเดือดร้อน โดยส านักนายกรัฐมนตรีอาจ

               ร่วมกับหน่วยงานตรวจสอบอื่น ๆ ในการแก้ปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนทางเว็บไซต์ ซึ่งการแก้ไข

               ปัญหานั้นต้องด าเนินการอย่างรวดเร็วและมีการแจ้งผลลัพธ์กลับไปยังประชาชนผู้ร้องเรียน และข้อมูลจาก

               ผู้ร้องเรียนต้องถูกเก็บเป็นความลับเพื่อสร้างหลักประกันและความมั่นใจแก่ประชาชน



                       2.2.6 การบริหารความเสี่ยง


                       ความเสี่ยง หมายถึง เหตุการณ์ที่มีโอกาสเกิดขึ้นในอนาคต และอาจจะส่งผลในด้านลบที่ไม่ต้องการ

               ดังนั้น การตัดสินใจกระท าการใด ๆ โดยไม่มีข้อมูลหรือไม่มีการวางแผนใด ๆ จึงสามารถกล่าวได้ว่าเป็นการ

               เสี่ยงตัดสินใจในสภาวะความเสี่ยง (จิรประภา อัครบวร, 2552, น. 37)


                       การบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการที่ทุกคนในองค์กรไม่ว่าจะเป็นผู้บริหารระดับใดหรือ


               บุคลากรในงานส่วนไหนต่างต้องมีส่วนร่วมในกระบวนการหาและให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการ

               คาดการณ์ เพื่อการตัดสินใจในการเลือกยุทธศาสตร์ ก าหนดเป้ าหมาย จัดท าแผนงาน และจัดสรร

               งบประมาณในการปฏิบัติงาน โดยมุ่งเป้ าหมายเพื่อที่จะให้การปฏิบัติงานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

               หรือลดความเสียหายหรือผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อความสูญเสียขององค์กร (จิรประภา

               อัครบวร, 2552, น. 37)


                       1. การบริหารความเสี่ยงของหน่วยงานราชการ


                       ความเสี่ยงขององค์กรภาครัฐมีความแตกต่างจากความเสี่ยงขององค์กรภาคเอกชน โดยหน่วยงานรัฐ

               จะเน้นแผนยุทธศาสตร์ที่เน้นการตอบสนองนโยบายรัฐบาลและให้บริการประชาชน การบริหารความเสี่ยง

               ของภาครัฐจึงเกี่ยวเนื่องกับความเสี่ยงเชิงนโยบาย และปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการด าเนินการตามแผน

               ยุทธศาสตร์ไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายตามที่ก าหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ การด าเนินการตามแผน

               ยุทธศาสตร์อาจไม่ประสบความส าเร็จจากปัจจัยเสี่ยง 4 กลุ่มตามที่ส านักงานตรวจเงินแผ่นดินและส านักงาน





                                                            30
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78