Page 61 - kpi18358
P. 61

มีจิตส านึกและความกระตือรือร้นในการเข้ามารวมตัวกันเป็นชุมชน ประชาคม รวมตัวกันเป็นเครือข่าย

               โดยแนวคิดประชารัฐจะไม่สนับสนุนให้ภาครัฐเข้ามามีอิทธิพลและแสดงบทบาทชี้น าและผูกขาดอ านาจ

               การตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายและการให้บริการสาธารณะ ภาครัฐต้องเปิ ดให้มีกระบวนการรับฟัง

               ความคิดเห็นและให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการตัดสินใจ (ทศพร ศิริสัมพันธ์ และคณะ,2546,


               น. 13-14)

                       ในส่วนของประเทศไทย แนวคิดประชารัฐนั้นไม่ใช่ค าที่กลวงเปล่าหรือค าที่เกิดจากความเข้าใจผิด

               ทางประวัติศาสตร์ดังที่มีการตั้งค าถามว่าประชารัฐเป็นค าที่ติดปากจากท่อนหนึ่งของเพลงชาติไทยที่ร้องว่า

               “ประเทศไทย รวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย เป็นประชารัฐ ไผทของไทยทุกส่วน” ประชารัฐนั้นเดิมคือค าว่า

               ประชาธิปไตย แต่แม้ว่าจะมีมุมมองต่อค าว่าประชารัฐไม่มีสาระส าคัญใด ๆ ควรค่าแก่การพัฒนาก็ควรต้อง

               พิจารณาใหม่เพราะเป็นค าที่ทรงพลังอย่างแรง (พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์,  2559) ค าว่า “ประชารัฐ” ได้ถูกกล่าวถึง

               อย่างเป็นทางการในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8โดยอธิบายแนวทางการพัฒนา

               ประชารัฐว่าเป็นการพัฒนาให้รัฐและประชาชนมีความเข้าใจที่ดี มีความรับผิดชอบและมีความเอื้ออาทร

               ต่อกัน เพื่อให้ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐและประชาชนด าเนินไปในเชิงสร้างสรรค์และเสริมสร้างสมรรถนะ

               ซึ่งกันและกัน และเนื่องจากภาครัฐเป็นสถาบันของประเทศที่มีบทบาทส าคัญในกระบวนการพัฒนาจึงเป็น

               องค์กรที่มีเอกสิทธิ์ในการก าหนดกรอบกลไกกระบวนการติดต่อและการสร้างสัมพันธ์ซึ่งกันและกันของคน


               ทุกคนในสังคมภาครัฐ มีทรัพยากรและบุคลากรจ านวนมากที่จะสามารถผลักดันการเปลี่ยนแปลงและแก้ไข

               ปัญหาต่าง ๆ ของสังคมได้ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างและกลไกการบริหารจัดการของภาครัฐยังมีข้อจ ากัด

               หลายประการ อาทิ การรวมศูนย์อ านาจประสิทธิภาพของการบริหารการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มแข็ง

               การมีส่วนร่วมจากเอกชนและประชาชน ความชอบธรรมและเป็นธรรมของการใช้อ านาจการบริหาร

               ความรับผิดชอบทางการบริหาร ความไม่ต่อเนื่องด้านนโยบายรวมทั้งการด าเนินงานตามแนวทางของ

               แผนพัฒนาประเทศ



                       ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจฯ ฉบับที่ 8  ได้ก าหนดทิศทางการพัฒนาประชารัฐไว้โดยพัฒนาให้ภาครัฐ

               มีสมรรถนะและพันธกิจหลักในการเสริมสร้างศักยภาพและสมรรถนะของคน ท าให้คนในสังคม

               เป็นพันธมิตรกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม

               วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน เช่น  เสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาของภูมิภาคและชุมชน โดยการ

               สร้างช่องทางให้คนส่วนใหญ่ในภูมิภาคและชนบทได้รับประโยชน์จากการพัฒนาประเทศที่เท่าเทียมกัน

               และเสมอภาคเพิ่มขึ้น สร้างระบบกลไกการบริหารเพื่อเปิดโอกาสให้ทุกฝ่ายในสังคมมีส่วนร่วมในการ




                                                            18
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66