Page 59 - kpi18358
P. 59
ใช้ข้อกฎหมายใดในการตรวจสอบแต่ละเรื่อง เป็นต้น ตัวอย่างทั้งหมดนี้ล้วนแล้วแต่ยังขาดความชัดเจนและ
บางครั้งยังขาดกฎหมายที่รองรับด้วย
10. ควรส่งเสริมความโปร่งใสและความสอดคล้องตามกฎหมายผ่านการใช้เครื่องมือที่
เหมาะสม เช่น การให้ค าแนะน า คู่มือ หรือรายการตรวจสอบ (Check-lists) ยกตัวอย่าง การขาดความ
สอดคล้องกันระหว่างผู้ตรวจสอบในการตีความข้อก าหนดหรือมีการตีความที่ต่างกัน การขาดความสามารถ
ในการคาดการณ์หัวข้อเพื่อการตรวจสอบถือเป็นประเด็นที่ท าให้เกิดภาระต่อผู้รับการตรวจและยังเป็นผล
ท าให้เกิดความไม่สอดคล้องกันทั้งกระบวนการตรวจ เพราะผู้รับการตรวจจะเกิดความเหนื่อยล้าและท้อแท้
จากความพยายามเพื่อท าให้ได้ตามการตรวจที่ไม่สอดคล้องกันนั้น
การแก้ไขปัญหานี้อาจท าได้โดยจัดท าคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานส าหรับผู้ตรวจเพื่อให้ผู้ตรวจ
ทราบว่าควรจะเน้นตรวจสอบประเด็นใด มีการเน้นเรื่องความเสี่ยงโดยไม่จ าเป็นต้องตรวจให้ครบ
ทุกข้อก าหนดแต่เน้นเฉพาะจุดส าคัญ คู่มือเหล่านั้นควรได้รับการทบทวนเพื่อให้มีความทันสมัยโดยผู้ตรวจ
ในแต่ละสาขานั้นหรือจากตัวแทนหน่วยรับตรวจ
สรุปได้ว่า การตรวจราชการสมัยใหม่นั้นเน้นเป้ าหมายเพื่อช่วยให้เกิดการยกระดับการท างานของ
ส่วนราชการให้ดียิ่งขึ้น การตรวจราชการที่ดีนั้นต้องอาศัยความประสานร่วมมือจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง
ให้การตรวจสอบนั้นบรรลุเป้ าหมายสูงสุด ทั้งนี้ สมรรถนะของผู้ท าการตรวจสอบและปัจจัยสนับสนุน
อย่างเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จ าเป็นอย่างยิ่งต่อการหนุนเสริมให้การตรวจราชการแนวใหม่บรรลุ
ผลส าเร็จ
2.1.3 ระบบโครงสร้างการตรวจราชการ
รูปแบบของการจัดโครงสร้างของระบบการตรวจราชการสามารถแยกออกเป็น 3 รูปแบบ (ส านัก
ปลัดส านักนายกรัฐมนตรี, ม.ป.ป., น. 11) ดังนี้
1. การจัดโครงสร้างแบบการรวมศูนย์การตรวจราชการ (Centralized Inspection System)
ประเทศที่ใช้รูปแบบการรวมศูนย์ราชการ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่ น ซึ่งมีลักษณะสอดคล้องกับโครงสร้าง
การบริหารราชการแผ่นดิน โดยรวมผู้ตรวจราชการและเจ้าหน้าที่จะอยู่ภายใต้สังกัดเดียวกัน คือ ส านักตรวจ
ราชการ (Administrative Inspection Bureau) ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ส านักงานบริหารและประสานงาน
(Management and Coordination Agency) ส านักนายกรัฐมนตรี การจัดโครงสร้างในรูปแบบรวมศูนย์
การตรวจราชการมีข้อดี คือ มีความเป็นเอกภาพในการตรวจราชการของประเทศ การก าหนดประเด็นและ
16