Page 659 - kpi17073
P. 659

658     การประชุมวิชาการ
                   สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16


                  ในพื้นที่ดังกล่าวมีข้อจำกัดไม่มากก็น้อยในช่วงที่ผ่านมา การประเมินความไว้วางใจของประชาชน
                  ในสถานการณ์ที่ อปท. ในพื้นที่ดังกล่าวตกอยู่ภายใต้ข้อจำกัดที่ไม่สามารถควบคุมได้เช่นนี้จึงอาจ

                  ทำให้คณะนักวิจัยได้ข้อมูลผลการวิเคราะห์ที่ต่ำกว่าสภาพความเป็นจริงได้ (negatively biased)
                  จึงเป็นการสมควรที่จะไม่รวมพื้นที่ดังกล่าวไว้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้


                                      ผลการคัดเลือกกรณีตัวอย่าง อปท. ตามหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ประการข้างต้น
                  ทำให้ได้กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ประกอบไปด้วยองค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) จำนวน

                  12 แห่ง เทศบาลจำนวน 33 แห่ง ซึ่งจำแนกออกเป็นเทศบาลนคร 4 แห่ง เทศบาลเมือง 9 แห่ง
                  และเทศบาลตำบล 20 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) จำแนกตามขนาดใหญ่ กลาง
                  และเล็กเท่ากับ 7, 20 และ 38 แห่งตามลำดับ รวมเป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 110 แห่ง

                  ดังแสดงไว้ในตารางที่ 1 ด้านล่าง ซึ่งจะเห็นได้ว่ากลุ่มตัวอย่างมีการกระจายตัวตามประเภทของ
                  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกระจายตัวตามภูมิภาคในสัดส่วนที่ใกล้เคียงกับองค์กรปกครอง

                  ส่วนท้องถิ่นโดยทั่วไปดีพอสมควร พร้อมกันนี้กลุ่มตัวอย่างยังสะท้อนถึงความหลากหลายขนาด
                  ของ อปท. ที่ในความเป็นจริงมีทั้ง อปท. ขนาดเล็กในแต่ละประเภท (อาทิ เทศบาลตำบล หรือ
                  อบต. ขนาดเล็ก) ในสัดส่วนที่มากกว่า อปท. ขนาดใหญ่ (อาทิ เทศบาลนคร หรือ อบต.

                  ขนาดใหญ่) ทั้งนี้ก็เพื่อสะท้อนภาพทั้งหมดในการวัดระดับความไว้วางใจของประชาชนที่มีต่อ
                  อปท. ได้อย่างตรงไปตรงมาและเป็นสัดส่วนใกล้เคียงกันกับกลุ่มประชากรทั่วไปของ อปท. ราว
                                                                                                  8
                  8 พันแห่งนั้นเอง

                  ตารางที่ 1 ภาพรวมกลุ่มตัวอย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวน 110 แห่งที่ได้รวบรวม

                  ข้อมูลเพื่อการวิจัย
                   ตารางที่ 1 ภาพรวมกลุมตัวอยางองคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวน 11  แหงที่ไดรวบรวมขอมูล พ ่อการวิจัย

                                                 จํา
                                   จํา
                   ที่  ที่  ภาค ภาค  จํานวน อปท. นวน อปท.  จํานวน อปท. ที่ ป น นวน อปท. ที่ ป น  ก การกระจายตัวของกลุมตัวอยาง  ารกระจายตัวของกลุมตัวอยาง
                                      นแตละภูมิภาค นแตละภูมิภาค  กลุมตัวอยาง ลุมตัวอยาง  จ จําแนกตามประ ภท ขนาด อปท. และภูมิภาค ําแนกตามประ ภท ขนาด อปท. และภูมิภาค
                                                    ก
                                                                                                อบต  ต
                                 จ จํานวน ํานวน  รอยละ รอยละ  จํานวน จํานวน  รอยละ รอยละ  อบจ  จ   เ เทศบาล ทศบาล  อบ
                                                                อบ
                                                                                                        เล ก
                                                                                                   กลาง
                                                                                ทม   ทต   รวม
                                                                           ทน
                                                                      รวม
                                                                                              ใ ญ

                                                                      รวม  ทน   ทม  ทต   รวม  ใ ญ  กลาง  เล ก

                      เ นือ เ นือ   ,     ,                2  2              2  2  7  7        2  2        12  12              7  7
                   2
                   2  ตะวันออก  ตะวันออก   2,  7 2,  7                     2 7  2 7        8  8                    2   2         7  7
                      เฉียงเ นือ
                      เฉียงเ นือ
                      กลาง กลาง    , 7   , 7   22 2 22 2  2  2   2    2     2  2  7  7        2  2        15  15


                      ตะวันออก ตะวันออก  5 7 5 7  7   7                    2  2  5  5                                      2  2

                                           2
                   5
                   5  ใต ใต      2   2    2                 5 5  2  2                          8  8        2  2  5  5

                                  7,52



                      รวม รวม     7,52                            12  12                    2  2    5   5  7 7  2  2
                   หมายเหตุ   อบจ   มาย  ง องคการบริ ารสวนจัง วั , ทน   มาย  ง เทศบาลนคร, ทม   มาย  ง เทศบาลเมือง, ทต   มาย  ง
                   เทศบาลตําบล  ละ อบต   มาย  ง องคการบริ ารสวนตําบล
                  หมายเหตุ: อบจ. หมายถึง องค์การบริหารส่วนจังหวัด, ทน. หมายถึง เทศบาลนคร, ทม. หมายถึง เทศบาลเมือง,
        การประชุมกลุ่มย่อยที่ 6      การวิจัยในครั งนี ค ะนักวิจัยไ ทําการเลือกใชเทคนิคการสํารวจภาคครัวเรือนเพื่อทําการ
                  ทต. หมายถึง เทศบาลตำบล และ อบต. หมายถึง องค์การบริหารส่วนตำบล
                           .2  ทคนิคและ คร ่องม อที่ ช นการวิจัย
                   วั ระ ับความไววางใจ องประชาชนที่มีตอองคกรปกครองสวนทอง ิ่น   ่งค ะนักวิจัยไ มีการ
                   กํา น   นการเก บ อมูลจากภาคครัวเรือน วยวิธีการสํารวจ                     ละใชวิธีสุม
                    บบ ลายชั นเป นระบบ            ,                        ยกํา น ใ  นา กลุมตัวอยางที่จะ
                    ําเนินการสํารวจในพื นที่องคการบริ ารสวนตําบล  อบต    ละเทศบาลตําบลมี นา ไมต่ํากวา

                       ครัวเรือน พื นที่เทศบาลเมืองจะ ําเนินการสํารวจภาคครัวเรือนจํานวนไมต่ํากวา  5  ครัวเรือน

                    ละพื นที่เทศบาลนครจะ ําเนินการสํารวจ อมูลครัวเรือนเป นจํานวนไมต่ํากวา 2   ครัวเรือน



                          ในการสุมครัวเรือนนั นจะใชวิธีการสุม บบ ลายชั นเป นระบบ กลาวคือค ะนักวิจัยจะใช
                   จํานวนครัวเรือนใน อปท  เป นตัวตั ง จากนั นนําตัวเล เป า มาย นา กลุมตัวอยางไป าร ก จะไ 

                   ตัวเล ชวงระยะ าง                ังเชน อบต    ง น ่งมีครัวเรือน 2,    ครอบครัว เป า มาย
                   การสํารวจคือจํานวน     ตัวอยาง ก จะไ ตัวเล ชวงระยะ างเทากับ 2,            2  จากนั น เมื่อ

                   ลงพื นที่ใน ตละชุมชน  ตละ นน  ตละคุม  รือ ตละ อย   ลว ตกร ี  ก จะเริ่มตนสํารวจบาน

                    ลัง รก องชุมชน  นน คุม  อย จากนั นจะนับ ั ออกไปอีก 2   ลังจ งจะ ําเนินการสํารวจ
                    อมูลครัวเรือน  ังนี เป นตน   ่งนักวิจัยจะ ําเนินการเชนนี   ําไปเรื่อย  จนไ จํานวนกลุมตัวอยาง

                   ครัวเรือนครบตามที่ตองการ
   654   655   656   657   658   659   660   661   662   663   664