Page 635 - kpi17073
P. 635
1.
การประชุมวิชาการ
634 สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16
ตารางที่ 1 สัดส่วนรายได้ของ อปท. ตามโครงสร้างความเป็นอิสระทางการคลัง
ตารางที่ 1. สัดสวนรายไดของ อปท. ตามโครงสรางความเปนอิสระทางการคลัง
หน่วย: ร้อยละ
เงินอุดหนุนทั่วไปงินอุดหนุนทั่วไปงินอุดหนุนทั่วไป
เ เ
ภาษีจัดสรร
ภาษีจัดสรร
กําหนดวัตถุประสงค+ําหนดวัตถุประสงค+
รายไดเก็บเองรายไดเก็บเอง เงินอุดหนุนทั่วไปเงินอุดหนุนทั่วไป ก รวมรวม
จากรัฐบาล
จากรัฐบาล
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ
2552
2552 10.04 55.09 14.83 20.01 100.00
55.09
14.83
100.00
10.04
20.01
52.68
29.50
100.00
8.90
8.92
2553
2553 8.92 52.68 8.90 29.50 100.00
9.18
2554
26.71
100.00
2554 9.18 51.78 12.33 26.71 100.00
51.78
12.33
2555
2555 9.05 51.03 10.85 29.07 100.00
10.85
29.07
100.00
9.05
51.03
28.41
100.00
51.45
11.09
9.05
2556 9.05 51.45 11.09 28.41 100.00
2556
100.00
28.85
10.18
9.30
51.67
2557
2557 9.30 51.67 10.18 28.85 100.00
ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่ อปท. (สกถ.)
ซึ่งเรื่องนี้สามารถพิจารณาได้ว่าจากโครงสร้างรายได้ของ อปท. ที่ผ่านมานั้นเป็นเพียง
การเพิ่มรายได้ให้แก่ อปท. ตามกฎหมายเท่านั้น แต่ยังไม่สามารถขับเคลื่อนการกระจายอำนาจ
การคลังฯ ได้ตามเจตนารมณ์ที่แท้จริงของการกระจายอำนาจฯ ได้ ซึ่งเรื่องนี้นำไปสู่กระบวนการ
ข้อเสนอปฏิรูประบบการกคลังของ อปท. ที่จะอภิปรายในส่วนต่อไป
การกระจายอำนาจการคลังฯ ภายใต้ความท้าทายใหม่ของประเทศ
การกระจายอํานาจการคลังฯ ภายใตความทาทายใหมของประเทศ
การกระจายอำนาจฯ ให้แก่ อปท. ถือเป็นเป้าหมายและกลไกสำคัญที่มีผลต่อการพัฒนา
ประเทศ เป็นที่ทราบดีว่าประเทศไทยต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกสำคัญที่ส่งผล
กระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งที่จะเป็นโอกาสและอุปสรรคสำคัญ คือ 1) การเปลี่ยนแปลง
กติกาใหม่ทั้งทางเศรษฐกิจและการเมือง วิกฤตเศรษฐกิจและการเงินของโลก ตลอดจน
กฎระเบียบด้านสังคมมีบทบาทสำคัญมากขึ้นโดยเฉพาะด้านสิทธิมนุษยชนที่ให้ความสำคัญกับการ
2)
ส่งเสริมให้เกิดความเคารพและรักษาศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ทุกคนอย่างเท่าเทียมกันซึ่งการ
ปรับตัวดังกล่าวคาดการณ์ว่า 2) ภูมิภาคเอเชียจะกลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจในยุคต่อไป
3) การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุซึ่งส่งผลต่อโครงการผลิต การบริโภคในภาพรวมของโลก อีกทั้งต้อง
เผชิญกับปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม สภาวะโลกร้อนซึ่งส่งผลต่อระบบนิเวศ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ที่รุนแรงซึ่งสร้างความเสียหายต่อโครงสร้างทรัพยากร และการเกษตร อันนำไปสู่การแย่งชิง
ทรัพยากร อาหาร พลังงาน และปัญหาความยากจนตามไปด้วย ดังนั้น ผลกระทบตามที่ได้กล่าว 3
มาจะทำให้กิจกรรมในสังคมเปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับ 4) ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารนาโนเทคโนโลยีเทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยีอาจส่งผลทั้งที่เป็น
โอกาสหรือภัยคุกคามในการพัฒนาประเทศ หากประเทศไม่สามารถบริหารจัดการได้อย่างถูกต้อง
การประชุมกลุ่มย่อยที่ 6 ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายในประเทศที่แม้จะยังคงสามารถรักษาอัตราการขยายตัว
เหมาะสม 5) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการผลิตจากภาคเกษตรกรรมไปสู่ภาคอุตสาหกรรม
ของระบบเศรษฐกิจโดยรวมได้ในระดับที่น่าพอใจ แต่มีโครงสร้างเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงและพึ่งพิง
กับเศรษฐกิจจากต่างประเทศมากขึ้น ทำให้ต้องเผชิญกับความเสี่ยงที่เกิดจากภาวะความผันผวน