Page 523 - kpi17073
P. 523

522     การประชุมวิชาการ
                   สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16


                  เป็นทุนทางสังคมทุกคนจะต้องมีความตระหนักถึงสิทธิและหน้าที่ของคามเป็นพลเมืองแห่งรัฐของ
                  ตนเอง และเมื่อมีความตระหนักแล้วก็จะต้องทำตามสิ่งที่ตนเองตระหนักนั้น รวมทั้งไม่ทำตัวเป็น

                  “ชาวบ้านตาดำๆ” ที่เลื่อมใสในเผด็จการอำนาจนิยมที่พยายามเข้ามาครอบงำทั้งทางตรงและทาง
                  อ้อม และไม่ทำตัวเป็นผู้ขอรอรับความช่วยเหลือเพียงอย่างเดียว แต่จะต้องเป็นพลเมืองที่มีความ
                  รุกเร้า (Active Citizen) ในการดำเนินชีวิตทุกขณะ โดยการสร้างเครือข่ายเพื่อเกิดทุนทางสังคม

                  นี้ไม่ควรมีการนำประเด็นการแบ่งแยกชนชั้นหรือสถานะทางเศรษฐกิจเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ควรมี
                  การรวมกลุ่มกันตามแนวคิดแบบภราดรภาพ คือ ถือว่าทุกคนมีฐานะเป็นพลเมืองในรัฐเช่น

                  เดียวกัน ซึ่งหากเป็นเช่นนี้แล้ว ก็จะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดซึ่งกันและ
                  กันได้ เป็นการ “รู้เขา-รู้เรา” (กฤษฎา แก้วเกลี้ยง 2553, น.151) และขจัดช่องว่างทางความรู้สึก
                  ระหว่างบุคคลที่มีความแตกต่างกันออกไปได้ จนก่อเกิดความเชื่อมแน่นทางสังคม (Social

                  Cohesion) ทางสังคมขึ้นภายในกลุ่ม ดังแผนภาพต่อไปนี้


                  แผนภาพที่ 1 ทุนทางสังคมและความเป็นพลเมืองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
                                 นภาพที่   ทุนทางสังคม ละความเป นพลเมืองกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

                      ภรา รภาพ                                                                   สิทธิ


                                                ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย

                                          ทุนทางสังคม                ความ ป นพล ม อง


                                                    วัฒนธรรมแบบประชาธิปไตย


                         เสรีภาพ
                                                                                                   นาที่


                                 จาก  นภาพ างตน จะเ  นไ วา ทุนทางสังคม ละความเป นพลเมืองนั นเป นสิ่งที่สงเสริม  ่งกัน ละกัน
                       จากแผนภาพข้างต้น จะเห็นได้ว่า ทุนทางสังคมและความเป็นพลเมืองนั้นเป็นสิ่งที่ส่งเสริม
                    เพื่อใ เกิ การปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีประสิทธิภาพ  ังที่ไ กลาวไป ลว างตน   ยความสัมพันธระ วาง
                  ซึ่งกันและกันเพื่อให้เกิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีประสิทธิภาพ ดังที่ได้กล่าวไปแล้ว
                    ทุนทางสังคม ละความเป นพลเมืองนั นมีวั นธรรม บบประชาธิปไตย อตาง คอยค ําจุนอยูเพื่อใ เกิ การปกครอง
                  ข้างต้น โดยความสัมพันธ์ระหว่างทุนทางสังคมและความเป็นพลเมืองนั้นมีวัฒนธรรมแบบ
                    ระบอบประชาธิปไตยที่มีประสิทธิภาพ   ย ลักการสําคัญ องระบอบการปกครอง บบประชาธิปไตยนั น
                  ประชาธิปไตยข้อต่างๆ คอยค้ำจุนอยู่เพื่อให้เกิดการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่มีประสิทธิภาพ
                    ประกอบ วยสิทธิ  นาที่ เสรีภาพ  ละภรา รภาพ ที่ประชาชนพ งมีพ งไ    ยการที่ระบอบการปกครอง บบ
                  โดยหลักการสำคัญของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยนั้นประกอบด้วยสิทธิ หน้าที่
                    ประชาธิปไตยจะสัม ทธิ  ลอันพ งประสงคไ นั น ประชาชนยอมตองมีความตระ นัก  ง ลักการสําคัญทั ง
                  เสรีภาพ และภราดรภาพ ที่ประชาชนพึงมีพึงได้ โดยการที่ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย
                    ประการ  ละปฏิบัติตาม ลักการเ ลานั นอยางเครงครั  เพื่อใ เกิ ความเป นระเบียบเรียบรอยในภาพรวม อันจะ
                  จะสัมฤทธิ์ผลอันพึงประสงค์ได้นั้น ประชาชนย่อมต้องมีความตระหนักถึงหลักการสำคัญทั้ง
                    เกื อกูลใ เกิ ทุนทางสังคม ละความเป นพลเมืองที่เ ม   งตอไปบนพื นฐาน องการมีวั นธรรม บบประชาธิปไตย
                  4 ประการ และปฏิบัติตามหลักการเหล่านั้นอย่างเคร่งครัด เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบ
                    ใน มูประชาชน
                  เรียบร้อยในภาพรวม อันจะเกื้อกูลให้เกิดทุนทางสังคมและความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งต่อไปบน
        การประชุมกลุ่มย่อยที่ 5   พื้นฐานของการมีวัฒนธรรมแบบประชาธิปไตยในหมู่ประชาชน

                    ความ ป นพล ม องกับการมีสวนรวมทางการ ม อง นทุกระดับ

                                  สํา รับความเป นพลเมืองนั น นอกจากจะสามาร นําไปเชื่อม ยงกับประเ  นทุนทางสังคมเพื่อสรางระบอบ

                    การปกครอง บบประชาธิปไตยใ มีประสิทธิภาพไ  ลว ยังสามาร นําไปมองรวมกับวิธีการสําคัญที่ ูกกํา น ไว
                    ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยไ  วย นั่นคือ การมีสวนรวมทางการเมือง องประชาชน   ่งการมีสวนรวมนี
                     ือเป นเครื่องมือ ลักที่ประชาชนจะไ ใชอํานาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนูญในการรวมกันกํา น อนาคต องประเทศ

                    วาจะเ ิน นาอยางไรตอไป   ย วิลว ี บุรีกุล  25    ไ ชี ใ เ  น  งกระบวนการมีสวนรวมไว ังนี











                                                                                                        10
   518   519   520   521   522   523   524   525   526   527   528