Page 296 - kpi17073
P. 296
การประชุมวิชาการ
สถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 16 295
1.3 ตำแหน่งประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่จำเป็นต้องใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาตามที่ ก.พ. กำหนดเพื่อปฏิบัติงานในหน้าที่ของตำแหน่งนั้น
1.4 ตำแหน่งประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งประเภทบริหาร ตำแหน่ง
ประเภทอำนวยการ และตำแหน่งประเภทวิชาการ ทั้งนี้ ตามที่ ก.พ. กำหนด
2. ข้าราชการพลเรือนในพระองค์ ได้แก่ ข้าราชการพลเรือนซึ่งรับราชการโดยได้รับบรรจุ
แต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งในพระองค์พระมหากษัตริย์ตามที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา
จะเห็นได้ว่าข้าราชการประจำมีประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนาน และเป็นกำลังสำคัญ
ในการขับเคลื่อนนโยบายของประเทศ การเข้ามารับราชการจึงไม่ใช่เรื่องง่ายที่ใครๆ จะมาเป็น
ก็ได้ ทุกคนที่เข้ามารับราชการต้องผ่านการทดสอบความรู้ความสามารถหลายขั้นตอนกว่าจะได้
บรรจุเข้ารับราชการ และเมื่อเป็นข้าราชการแล้วก็สามารถปฏิบัติงานได้จนถึงอายุ 60 ปี ซึ่งเป็น
วันเกษียณอายุราชการ ดังนั้น ข้าราชการจึงต้องดำรงตนอย่างมีเกียรติและศักดิ์ศรี และ
๗
ปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ความสามารถ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติและประชาชน
จะเห็นไดวาขาราชการประจํามีประวัติศาสตรมาอยางยาวนาน และเปนกําลังสําคัญ
ดุลอำนาจระหว่างฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ
ในการขับเคลื่อนนโยบายของประเทศ การเขามารับราชการจึงไมใชเรื่องงายที่ใคร ๆ จะมาเปน
ก็ได ทุกคนที่เขามารับราชการตองผานการทดสอบความรูความสามารถหลายขั้นตอนกวาจะได
บรรจุเขารับราชการ และเมื่อเปนขาราชการแลวก็สามารถปฏิบัติงานไดจนถึงอายุ ป ึ่งเปน
จากที่กล่าวมาข้างต้นจะเห็นได้ว่าฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำมีที่มาและอำนาจหน้าที่
วันเกษียณอายุราชการ ดังนั้น ขาราชการจึงตองดํารงตนอยางมีเกียรติและศักดิ ศรี และปฏิบัติงาน
อยางเต็มความรูความสามารถ เพื่อใหเกิดประโยชนตอประเทศชาติและประชาชน
ที่แตกต่างกัน ซึ่งหน้าที่หลักของฝ่ายการเมืองคือการกำหนดนโยบายและทิศทางในการพัฒนา
น ม แ
ประเทศ ส่วนข้าราชการประจำนั้นคือผู้ที่มีหน้าที่ในการนำนโยบายของฝ่ายการเมืองไปปฏิบัติ
จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา ายการเมืองและขาราชการประจํามีที่มาและอํานาจ
ดังนั้น ความสัมพันธ์ระหว่างฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำจึงเป็นไปในลักษณะของความร่วม
หนาที่ที่แตกตางกัน ึ่งหนาที่หลักของ ายการเมืองคือการกําหนดนโยบายและทิศทางในการ
มือในการทำงานให้ประสานสอดคล้องกันในการบริหารประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
พัฒนาประเทศ สวนขาราชการประจํานั้นคือผูที่มีหนาที่ในการนํานโยบายของ ายการเมือง
ไปปฏิบัติ ดังนั้น ความสัมพัน ระหวาง ายการเมืองและขาราชการประจําจึงเปนไปในลักษณะของ
ประเทศชาติและประชาชน จึงอาจกล่าวได้ว่าระบบราชการเป็นกลไกสำคัญของระบบการเมือง
ความรวมมือในการทํางานใหประสานสอดคลองกันในการบริหารประเทศ เพื่อใหเกิดประโยชน
และมีความสำคัญต่อเสถียรภาพของรัฐบาลอย่างมาก ถ้านโยบายต่างๆ สามารถถูกนำไปปฏิบัติได้
สูงสุดตอประเทศชาติและประชาชน จึงอาจกลาวไดวาระบบราชการเปนกลไกสําคัญของระบบ
การเมือง และมีความสําคัญตอเสถียรภาพของรัฐบาลอยางมาก ถานโยบายตาง ๆ สามารถ
อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประชาชนก็จะพอใจในรัฐบาล ซึ่งจะส่งผลต่อการเลือกตั้งในครั้ง
ถูกนําไปปฏิบัติไดอยางมีประสิท ิภาพ ประสิท ิผล ประชาชนก็จะพอใจในรัฐบาล ึ่งจะสงผลตอ
ต่อไป การเลือกตั้งในครั้งตอไป
ม
น
น
น ิ ิ ท ิ แ น
การประชุมกลุ่มย่อยที่ 3