Page 123 - kpi16607
P. 123

ระดับประเทศ แทนนโยบายสรางโครงสรางพื้นฐานเชน ตัดถนน หรือขุดคลองในระดับจังหวัดแบบเดิม ซึ่งเปนนโยบาย
              ที่มากับการเลือกตั้งแบบเขตเล็ก
                    การเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 จึงทําใหพรรคการเมืองตางๆ สามารถนําเสนอ
              นโยบายในระดับประเทศ เพื่อแขงขันกันไดอยางแทจริงเปนครั้งแรก โดยประชาชนมีความเชื่อมั่นมากกวาในอดีตวา
              นโยบายที่ใชในการหาเสียงเลือกตั้งนั้นจะสามารถนําไปปฏิบัติไดจริงเมื่อมีการจัดตั้งรัฐบาล เพราะฝายบริหารมีความ
              เขมแข็งมากขึ้น   ดังนั้นการเกิด “นโยบายประชานิยม” ในชวงหลังป พ.ศ. 2540 มากขึ้น จึงมีเหตุผลมาจากปจจัยดาน
              อุปทานดวย
              5. รัฐธรรมนูญกับแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ
                    หากประชาธิปไตยในสังคมที่มีความเหลื่อมล้ําสูงมีแนวโนมที่จะทําใหเกิดนโยบายประชานิยม ซึ่งเสี่ยงตอการ
              สรางความเสียหายตอฐานะทางการคลังและระบบเศรษฐกิจของประเทศแลว จะมีเครื่องมือใดในระบอบประชาธิปไตย
              หรือไมที่จะชวยปองกันผลเสียจากนโยบายประชานิยม?  รัฐธรรมนูญเปนเครื่องมือที่สําคัญประการหนึ่งดวยหรือไมและ
              อยางไร? ดวยบทบัญญัติในลักษณะใด?
                    เมื่อดูอยางผิวเผินแลว บทบัญญัติในหมวด “แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ” นาจะเปนสวนของรัฐธรรมนูญที่มี
              ความเกี่ยวของกับการดําเนินนโยบายตางๆ ของรัฐ รวมทั้งนโยบายประชานิยมมากที่สุด  ทั้งนี้การศึกษาของผูเขียนมา
              พบวา บทบัญญัติในหมวดดังกลาวไดมีเนื้อหาเพิ่มขึ้นมาก เชน หากนับเปนจํานวนนโยบาย ก็จะพบวามีจํานวนเพิ่มขึ้น
                                                                    ดุลอำนาจ
                                                                            ในการเมืองการปกครองไทย
              เรื่อยๆ จาก  17 นโยบายในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2492  เปน 50 นโยบายในรัฐธรรมนูญแหง
              ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ดังที่แสดงในภาพที่ 1

                          ภาพที่ 1 จำนวนนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐในรัฐธรรมนูบฉบับต่างๆ
                                ภาพที่ 1 จํานวนนโยบายพื้นฐานแหงรัฐในรัฐธรรมนูบฉบับตางๆ









                       ที่มา: ปรับปรุงจาก รังสรรค ธนะพรพันธุ (2546)
                   ที่มา: ปรับปรุงจาก รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (2546)


                    นอกจากนี้ แมวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จะมีจํานวนนโยบายที่ถูกกําหนดเปน
                         นอกจากนี้ แม้ว่ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 จะมีนโยบาย
                   จำนวนนโยบายที่ถูกกำหนดเป็นนโยบายพื้นฐานของรัฐน้อยกว่ารัฐธรรมนูญ  
nt) ใน
              พื้นฐานของรัฐนอยกวารัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แตหากนับจํานวนถอยคํา (word cou
                   แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 แต่หากนับจำนวนถ้อยคำ (word count)  
          11
                                                                                              8
                   ในหมวดแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
                   2540 ก็จะพบว่ามี 957 คำ ซึ่งน้อยกว่าในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

                   พ.ศ. 2550 ซึ่งมี 2,472 คำมาก ซึ่งชี้ให้เห็นถึงความพยายามในการกำหนดแนว
                   นโยบายพื้นฐานของรัฐในรัฐธรรมนูญมากขึ้นเรื่อยๆ


                         อย่างไรก็ตาม เราจะเห็นว่า หมวดแนวนโยบายพื้นฐานของรัฐในรัฐธรรมนูญ
                   แห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ซึ่งบัญญัติไว้อย่างละเอียดมาก ก็ไม่สามารถ
                   ป้องกันนโยบายประชานิยมไม่ให้สร้างความเสียหายแก่ประเทศไทยได้ ทั้งนี้

                   เนื่องจาก บทบัญญัติส่วนใหญ่ในหมวดดังกล่าวของรัฐธรรมนูญมุ่งกำหนดให้รัฐ
                   ต้องมีนโยบายในเชิงบวกคือ การให้มีนโยบายอย่างใดอย่างหนึ่ง มากกว่ามุ่งที่
                   ควบคุมนโยบายในเชิงลบ ซึ่งหมายถึง การห้ามมีนโยบายอย่างใดอย่างหนึ่ง


                         คำถามในสังคมไทยประการหนึ่งภายหลังการรัฐประหารในปี 2557 ก็คือ
                   จะมีแนวทางอย่างไรในการบัญญัติรัฐธรรมนูญเพื่อห้ามการดำเนินนโยบาย

                   ประชานิยม เช่น มาตรา 35(7) และ 35(8) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย





                                                                                   สถาบันพระปกเกล้า
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128