Page 72 - kpiebook67035
P. 72
การเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมของชาติเพื่ออนาคตประชาธิปไตยไทย
กรณีศึกษาการใช้ทุนทางวัฒนธรรม
เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมในพื้นที่เทศบาลตำาบลเชียงคาน
3) ทุนวัฒนธรรมที่เป็นสถาบัน ได้แก่ ประเพณีสำาคัญของชุมชนในแต่ละเดือน หรือประเพณี
้
ฮีต 12 คอง 14 เช่น ประเพณีใส่บาตรข้าวเหนียว ประเพณีข้าวพันก้อน ประเพณีแห่นำา เป็นต้น
จะเห็นได้ว่า ทุนทางวัฒนธรรมของเชียงคานมีความหลากหลายและครอบคลุมทั้งทุน
วัฒนธรรมที่อยู่ในตัวบุคคล ทุนวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรม และทุนวัฒนธรรมที่เป็นสถาบัน
ซึ่งทุนทางวัฒนธรรมของเชียงคานเหล่านี้สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของสังคมและวิถีชีวิตที่เป็น สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าของสังคมและวิถีชีวิตที่เป็น
อ
อัตลักษณ์ของเชียงคาน ที่ฝังอยู่ในตัวชุมชนและสืบทอดรุ่นสู่รุ่นมาจนถึงปัจจุบัน และสามารถัตลักษณ์ของเชียงคาน ที่ฝังอยู่ในตัวชุมชนและสืบทอดรุ่นสู่รุ่นมาจนถึงปัจจุบัน และสามารถ
ต
ต่อยอดทำาให้เกิดประโยชน์ต่อคนในพื้นที่ทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคมได้ โดยเฉพาะในด้าน่อยอดทำาให้เกิดประโยชน์ต่อคนในพื้นที่ทั้งเชิงเศรษฐกิจและสังคมได้ โดยเฉพาะในด้าน
เศรษฐกิจิจ ตามที่ปรากฎในทุกวันนี้ เมืองเชียงคานกลายเป็นจุดหมายปลายทางของการท่องเที่ยว
เศรษฐก
ที่ได้รับความนิยมมาอย่างต่อเนื่องหลายปี โดยมีทุนทางวัฒนธรรม เช่น ถนนคนเดิน ชุมชน
บ้านไม้เก่า อาหารพื้นเมือง เป็นเสน่หและสิ่งที่ดึงดูดความน่าสนใจจากคนภายนอกได้เป็นอย่างดี
และนำาไปสู่การสร้างรายได้ให้กับคนเชียงคาน
5.1.2 การสร้างการมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมด้วยทุนทางวัฒนธรรม
กิจกรรมของโครงการวิจัยนี้เพื่อสร้างการมีส่วนร่วม (activities) โดยใช้ทุนทางวัฒนธรรม
ที่มีเพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมมาจากกระบวนการการค้นหาทุนทางวัฒนธรรมในพื้นที่
ที่นำาไปสู่การจัดทำาแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมในพื้นที่เทศบาล
ตำาบลเชียงคาน ที่ประชาชนผู้เข้าร่วมได้ร่วมกันระดมความเห็นกำาหนดแนวทางกิจกรรมต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นการสร้างธรรมนูญเชียงคาน การจัดระเบียบเมืองให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
เช่น ถนนคนเดินปลอดขยะ ถนนคนเดินปลอดเหล้า รวมไปถึงการอนุรักษประเพณีวัฒนธรรม
จากการจัดทำาแผนดำาเนินกิจกรรมเหล่านี้ ประชาชนชาวเชียงคาน เทศบาลตำาบลเชียงคาน
และสถาบันพระปกเกล้า ได้ร่วมกันคัดเลือกไปดำาเนินกิจกรรมจำานวน 2 กิจกรรม ได้แก่ การสร้าง
ธรรมนูญเชียงคานผ่านกระบวนการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น และการอนุรักษประเพณี
วัฒนธรรมผ่านบทเพลงของเยาวชน กล่าวคือ
1) การสร้างธรรมนูญเชียงคานผ่านกระบวนการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น) การสร้างธรรมนูญเชียงคานผ่านกระบวนการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น เป็นสิทธิ
1
ในการมีส่วนร่วมในการออกกฎหมายและข้อบัญญัติท้องถิ่นที่ได้รับการรับรองตามรัฐธรรมนูญ
2560 มาตรา 254 กำาหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองส่วนท้องถิ่นมีสิทธิ
เข้าชื่อกันเพื่อเสนอข้อบัญญัติได้ และเป็นไปตามพระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
พ.ศ.2565 มาตรา 7 วรรคสอง ได้กำาหนดเงื่อนไขจำานวนผู้เข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น ต้องเป็น
ผู้มีสิทธิเลือกตั้งรวมกันจำานวนไม่น้อยว่าสามพันหรือไม่น้อยกว่าหนึ่งในยี่สิบของจำานวนผู้มีสิทธิ
เลือกตั้งในการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น ซึ่งการเข้าชื่อเสนอกฎหมายท้องถิ่น (law Initiatives)
70