Page 67 - kpiebook67035
P. 67

สถาบันพระปกเกล้า
                                                          King Prajadhipok’s Institute


             สอดคล้องกับผู้สัมภาษณที่เห็นว่าแนวทางคือให้ประชาชนหาจุดแข็งจุดอ่อนของตนเอง
                                                          ้
          เช่น ทำา SWOT ยกตัวอย่างจุดอ่อน อาจจะเป็นการสร้างบ้านเรือนที่ลำาพื้นที่ออกมา การบริหาร
          จัดการและกำาจัดขยะ ซึ่งคนต่อต้านส่วนใหญ่เป็นคนภายนอกที่ประท้วงอย่างเตาเผาขยะ เพื่อจะได้
          ดึง NGOs เข้ามา (01 [สัมภาษณ], 26 กรกฎาคม 2566)
             นอกจากนี้ กระบวนการของสถาบันพระปกเกล้ายังสามารถนำาไปใช้กับการระดมความคิดเห็น
          ของประชาชนในพื้นที่อื่น ๆ ได้ ซึ่งเป็นกระบวนการที่เข้าใจง่าย ไม่เป็นวิชาการเกินไป แต่สามารถ
          ปลุกเร้าการมีส่วนร่วมและกระตุ้นความคิดของคนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้เป็นอย่างดี และที่สำาคัญ
          ยังเป็นกระบวนการที่สามารถรวบรวมความคิดได้ในเวลาอันรวดเร็ว จนนำาไปสู่การวางแผน
          โครงการได้โดยไม่ต้องเสียเวลาคิดโครงการดังเช่นที่เจ้าหน้าที่เทศบาลดำาเนินการ
             กลุ่มครูและผู้ปกครอง เห็นว่าหากจะนำาไปปรับใช้ในพื้นที่อื่น ๆ สิ่งสำาคัญคือ ต้องทำาความเข้าใจ ต้องทำาความเข้าใจ
          กับคนในพื้นที่นั้น ๆ ให้ชัดเจนและเข้าใจตรงกันๆ ให้ชัดเจนและเข้าใจตรงกัน เพื่อให้การดำาเนินกิจกรรมเป็นไปอย่างราบรื่น
          กับคนในพื้นที่นั้น
          และสอดคล้องไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งกระบวนการและโจทยที่จะใช้ในการระดมความเห็น
          เพราะผู้เข้าร่วมกิจกรรมแต่ละคนอาจจะเข้าใจได้ช้าหรือเร็วต่างกัน สำาหรับตัวแบบหรือแนวทาง
          ที่เชียงคานใช้ สามารถเป็นตัวแบบให้พื้นที่อื่น ๆ นำาไปปรับใช้ได้ โดยให้ผู้ที่เกี่ยวข้องหรือ
          มีประสบการณการทำากิจกรรมร่วมกับสถาบันพระปกเกล้าเป็นผู้บรรยายให้ความรู้ได้ เช่น เจ้าหน้าที่
          ของเทศบาลตำาบลเชียงคาน
             นอกจากนี้ สิ่งสำาคัญที่พึงพิจารณาในการนำาไปปรับใช้ในพื้นที่อื่น ๆ คือ ทุนทางวัฒนธรรม
          ของแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ทำาให้การนำาทุนทางวัฒนธรรมไปใช้เสริมสร้างความมั่นคง
          ในสังคมหรือใช้ประโยชนอาจจะมีความแตกต่างออกไปในแต่ละพื้นที่ และยังขึ้นอยู่กับบริบท
          ของชุมชนนั้น ๆ ด้วย ขณะเดียวยังควรเชิญผู้ที่มีบทบาทสำาคัญในชุมชนนั้นมาเข้าร่วมควรเชิญผู้ที่มีบทบาทสำาคัญในชุมชนนั้นมาเข้าร่วม เช่น ผู้นำา
          ทางศาสนา ผู้นำาทางจิตวิญญาณ ผู้นำาทางความคิด พระสงฆ เพราะเมื่อคนเหล่านี้ทำาการสื่อสารแล้ว
          คนจะทำาตาม โดยเฉพาะคนสูงอายุ รวมไปถึงผู้นำาชุมชนและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำา
          หมู่บ้าน (อสม.) เพื่อเป็นกระบอกเสียงกระจายข่าวและเป็นสื่อกลางระหว่างประชาชนกับ
          หน่วยงาน
             กลุ่มประชาชน เห็นว่าภาพรวมกระบวนการนั้นมีผู้ที่เข้าร่วมเป็นคนกลุ่มเดิม และ
          กระบวนการที่มีการรับฟังความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับธรรมนูญเชียงคานอย่างเทศบัญญัตินั้น
          ควรมีระยะเวลาให้คนในชุมชนได้พิจารณามากขึ้นีระยะเวลาให้คนในชุมชนได้พิจารณามากขึ้น โดยผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มภาคประชาชน
          ควรม
          เห็นว่าคนที่เข้ามามีส่วนร่วมเป็นคนกลุ่มเดิม เพราะชาวบ้านบางคนไม่ได้รับข่าวสารจึงไม่รู้ข่าว
          การเคลื่อนไหวในการทำากิจกรรม ซึ่งอาจมีการประชาสัมพันธน้อย ขณะที่ชาวบ้านบางคนอาจ



                                                                        65
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72