Page 62 - kpiebook67035
P. 62
การเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมของชาติเพื่ออนาคตประชาธิปไตยไทย
กรณีศึกษาการใช้ทุนทางวัฒนธรรม
เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมในพื้นที่เทศบาลตำาบลเชียงคาน
จนในช่วงที่พระองคภาฯ เสด็จเยี่ยมพื้นที่ หรือมีเจ้านายมาเยี่ยม จึงทำาให้เปลี่ยนพฤติกรรมกันไปได้
ซึ่งค่อนข้างใช้เวลาในการใช้กติกา เพราะต้องคุมกันเอง เนื่องจากมีเสียงสะท้อนจากนักท่องเที่ยว
(01 [สัมภาษณ], 26 กรกฎาคม 2566) เชียงคานเป็นแหล่งท่องเที่ยว ดังนั้น นักท่องเที่ยวจะไม่รู้
วัฒนธรรมวิถีประเพณี ไม่รู้ว่าควรทำาหรือไม่ควรทำาอะไร ไม่รู้วิถีประเพณีควรทำาอย่างไร เช่น
การแต่งกายไม่มิดชิด (02 [สัมภาษณ], 26 กรกฎาคม 2566)
นอกจากนี้ ปัญหาอีกประการหนึ่งคือ การสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่อาจจะยังไม่ทั่วถึงการสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมที่อาจจะยังไม่ทั่วถึง
ว่าหน่วยงานภายนอก เทศบาล และชุมชนกำาลังทำากิจกรรมอะไร ทำาให้มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำากัด
เฉพาะกลุ่ม และยังไม่หลากหลายเท่าที่ควร
กลุ่มครูและผู้ปกครอง เห็นว่าปัญหาและอุปสรรคคือ สถานที่ในการจัดกิจกรรม ของโครงการ
ทั้งการประกวดร้องเพลง และการรับฟังความคิดเห็นต่อร่างเทศบัญญัติ เนื่องจากลานวัดศรีคุณเมือง
เป็นสถานที่กลางแจ้งทำาให้สภาพดินฟ้าอากาศส่งผลต่อการจัดกิจกรรมให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี อีกทั้ง
สถานที่ยังอาจคับแคบเกินไป ไม่เหมาะสมกับการตั้งเวทีทำาการแสดงที่มีหลายคน ตลอดจน
ปัญหาที่เกิดจากอุปกรณเครื่องเสียงและไฟฟ้าส่องสว่างที่ไม่เหมาะสมกับการประกวดร้องเพลง
ขณะเดียวกัน กระบวนการของวิทยากรอาจจะเข้าใจยากเกินไปกระบวนการของวิทยากรอาจจะเข้าใจยากเกินไปที่คนทุกคนจะเข้าใจได้
เหมือนกัน เช่น กระบวนการรับฟังความคิดเห็นต่อร่างเทศบัญญัติ เนื่องจากคนที่เข้าร่วมกิจกรรม
มีความหลากหลายและแต่ละคนอาจมีวุฒิภาวะต่างกัน จึงเข้าใจโจทยคำาถามของวิทยากรได้ช้า
หรือเร็ว เข้าใจง่ายหรือเข้าใจยากที่แตกต่างกัน
นอกจากนี้ คนที่มาเข้าร่วมกิจกรรมไม่มีความหลากหลายคนที่มาเข้าร่วมกิจกรรมไม่มีความหลากหลาย คนที่มาเข้าร่วมกิจกรรมอาจจะ
ยังคงจำากัดเฉพาะกลุ่ม ไม่มีความหลากหลายของคนในชุมชน ซึ่งอาจจะเกิดจากการประชาสัมพันธ
ที่ไม่ทั่วถึง ทำาให้คนไม่ทราบการจัดกิจกรรมของโครงการที่ลานวัดศรีคุณเมือง
กลุ่มประชาชน เห็นว่าปัญหาและอุปสรรคในการดำาเนินกิจกรรมต่าง ๆ มีเรื่องการถูกกดทับ
ด้วยอำานาจที่เหนือกว่า การไม่เปิดใจรับรู้สิ่งใหม่ การขาดความเสียสละ ข้อจำากัดทางงบประมาณ
การแตกกระจายของหน่วยงานที่เข้ามาทำากิจกรรม และความน่าเชื่อถือของผู้นำา
การถูกกดทับด้วยอำานาจที่เหนือกว่าูกกดทับด้วยอำานาจที่เหนือกว่า พบว่า ที่ผ่านมาการดำาเนินกิจกรรมด้านทุนวัฒนธรรม
การถ
ของท้องถิ่นอาจถูกกดทับจากหน่วยงานที่อยู่เหนือกว่า ชาวบ้านเองก็ถูกกดทับด้วยอำานาจที่
เหนือกว่า ทำาให้ไม่กล้าที่จะดำาเนินการอะไร ชุมชนไม่กล้าแสดงออก ไม่กล้าแสดงความคิดเห็น
ทั้งที่ตนเองมีศักยภาพ ในกรณีนี้ยังพบว่าส่วนหนึ่งเป็นเพราะชาวบ้านไม่เชื่อถือหรือไม่ค่อย ชาวบ้านไม่เชื่อถือหรือไม่ค่อย
มีส่วนร่วมกับกิจกรรมที่เทศบาลดำาเนินการีส่วนร่วมกับกิจกรรมที่เทศบาลดำาเนินการด้วย ดังนั้น เมื่อมีการดำาเนินงานแบบสั่งการบนลงล่าง
ม
60