Page 57 - kpiebook67035
P. 57

สถาบันพระปกเกล้า
                                                          King Prajadhipok’s Institute


          สอบถามคนที่ได้เข้าร่วมกิจกรรม มีคนใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีส่วนร่วมกิจกรรมชุมชนเข้ามาสอบถาม
          เมื่อรู้ว่าเป็นกิจกรรมเกี่ยวกับทุนวัฒนธรรมในพื้นที่ก็แสดงความสนใจต้องการเข้าร่วม พร้อมทั้ง
          ขอให้คนที่เคยเข้าร่วมกิจกรรมช่วยให้การแนะนำาเพื่อเข้ามีส่วนร่วม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
             “ตั้งแต่ทีมวิจัยของสถาบันพระปกเกล้าเข้ามาให้ข้อมูลเสนอแนะสิ่งต่างๆ ก็เริ่มมีชาวบ้าน
          และประชาชนมาสอบถามว่าสถาบันพระปกเกล้าเขามาทำาอะไร ก็อธิบายไปว่าเขามาให้เรา
          สำารวจเกี่ยวกับศักยภาพของตัวเราเอง ว่าจะทำาอย่างไรให้เกิดการเรียนรู้ เกิดการพัฒนาในชุมชน
          ของเรา ตนจึงถามว่าท่านมีข้ออยากรู้อะไร ให้เขียนมาให้ถามมาแล้วอยากรู้อย่างไรเดี๋ยวจะถาม
          สถาบันพระปกเกล้าให้ สิ่งที่เป็นทุนทางวัฒนธรรมของเราที่ได้มาก็ประมาณนี้”
             “...คนใหม่ๆ เข้ามาสอบถามและอยากรู้ว่าเขาจะทำาอย่างไรให้เรียนรู้ได้ ตนก็บอกว่า
          มีสถาบันพระปกเกล้ามาให้ความช่วยเหลือ ถ้ามีอะไรก็ให้คำาแนะนำาได้มาสอบถามถ้าไม่รู้จริงๆ
          ก็จะมีโบรชัวรให้หรือถ้าไม่รู้ก็ไปดูใน YouTube ว่าสถาบันพระปกเกล้ามีอะไรบ้าง”
             อย่างไรก็ดี กิจกรรมที่ดำาเนินการนั้นอาจยังต้องการความต่อเนื่องและทั่วถึงในการสร้าง
          ความเข้าใจ โดยผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มเห็นว่ากิจกรรมที่ทำานั้นทำาให้ชาวบ้านบางส่วนเปลี่ยน
          พฤติกรรมไปบ้าง แต่ขึ้นกับว่าสิ่งที่รับไปนั้นเขาเกิดความเข้าใจเพียงใด เพราะบางคนไม่ได้เข้าร่วม
          กิจกรรมกับคนอื่นตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการ จึงทำาให้สิ่งที่ดำาเนินการอยู่ปัจจุบันยังเป็นการ
          มองต่างมุมอยู่ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
             “เท่าที่ได้ไปร่วมเราก็จะได้ความรู้ ความเปลี่ยนแปลงหลาย ๆ อย่าง แต่สิ่งที่ปัจจุบันที่ทำากัน
          อยู่ทุกวันนี้ จะเป็นการมองต่างมุม บางคนเขาชวนแล้วก็ไม่ไป ถ้าเขาไปมาแล้วทำาไมไม่ชวน”
             ประการสุดท้าย กิจกรรมจากงานวิจัยทำาให้เกิดการรื้อฟื้นและต้องการที่จะพัฒนาทุนเดิม เกิดการรื้อฟื้นและต้องการที่จะพัฒนาทุนเดิม
          ที่
          ที่มีอยู่มีอยู่ โดยพบว่า ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายอย่าง แต่เดิมนั้นมีกลุ่มต่าง ๆ เช่น กลุ่มวิสาหกิจ
          ชุมชน กลุ่มโฮมสเตย กลุ่มตักบาตรข้าวเหนียว กลุ่มนางรำา มีการท่องเที่ยวทางธรรมชาติ
          วัฒนธรรม เมื่อมีกิจกรรมงานวิจัยนี้เข้ามาที่เชียงคาน ได้มีการทำาให้ชุมชนรื้อฟื้นสิ่งที่เคยมีอยู่
          และเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ทำาให้ขายได้ ยกตัวอย่างเกิดเพลงใหม่ ๆ เกี่ยวกับเชียงคานขึ้นมา
          เช่น เชียงคานบ้านเฮา หรือแต่เดิมเคยมีสภาเมืองที่ทำาหน้าที่เป็นที่ปรึกษาของเมือง แต่พอ
          การเปลี่ยนแปลงของเมืองเกิดขึ้น คนภารกิจมากขึ้นสภาเมืองจึงถูกลืมเลือนไปบ้าง แต่กิจกรรมนี้
          ทำาให้คนเชียงคานกล่าวถึงสิ่งเดิมที่เคยมีอยู่
             นอกจากนี้ กิจกรรมจากงานวิจัยนี้ยังทำาให้เกิดการออกแบบการปกครองตนเองของ การออกแบบการปกครองตนเองของ
          ชาวเ
          ชาวเชียงคาน ด้วยเครื่องมืออย่างเทศบัญญัติชียงคาน ด้วยเครื่องมืออย่างเทศบัญญัติ ซึ่งทำาให้จากเดิมที่บางครัวเรือนในชุมชนเดียวกัน




                                                                        55
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62