Page 60 - kpiebook67035
P. 60

การเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมของชาติเพื่ออนาคตประชาธิปไตยไทย
           กรณีศึกษาการใช้ทุนทางวัฒนธรรม
           เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมในพื้นที่เทศบาลตำาบลเชียงคาน

                                                                   ่่
             ปัจจัยต่อมาคือ การติดต่อสื่อสารกับชุมชนและการติดตามงานอย่างสมการติดต่อสื่อสารกับชุมชนและการติดตามงานอย่างสมำาเสมอำาเสมอ เช่น
          การนัดหมายกับชาวบ้านแบบรายบุคคลหรือแบบสองทาง จนทำาให้เกิดการประชุมขึ้น เช่น
          เดียวกันกับการพัฒนาวัฒนธรรมเมืองเชียงคาน ที่มีการติดตามการทำางาน โดยเริ่มจากการ
          ทำากิจกรรมที่ลานวัฒนธรรม แล้วมาดำาเนินกิจกรรมต่อ ณ วัดศรีคุณเมือง ทำาให้ชาวบ้านตื่นตัว
          มีกำาลังใจในการทำางาน และมีความกระตือรือร้นที่จะมาเข้าร่วมกิจกรรม
             นอกจากนี้ ปัจจัยภายนอกประการหนึ่งคือการมี หน่วยงานภายนอกเข้ามาสนับสนุนและหน่วยงานภายนอกเข้ามาสนับสนุนและ
          ต
          ติดตามการดำาเนินกิจกรรมของชุมชนอย่างต่อเนื่องิดตามการดำาเนินกิจกรรมของชุมชนอย่างต่อเนื่อง มีหน่วยงานที่ระดับสูงกว่าเทศบาลตำาบล
          ขึ้นไปเข้ามาร่วมสังเกตุการณและเข้าร่วมกิจกรรมในพื้นที่ ยิ่งทำาให้คนในพื้นที่รู้สึกตื่นตัวในการ
          เข้าร่วมกิจกรรมและภาคภูมิใจในทุนวัฒนธรรมที่ตนเองมีอยู่ ดังนี้
             “มีผู้หลักผู้ใหญ่ให้ความร่วมมือเป็นเวทีที่ใหญ่มากในวันนั้น ทำาให้ชาวเชียงคานรู้เลยว่า
          สถาบันพระปกเกล้ามาจัดเวที ครั้งที่แล้วเชิญรองผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำาเภอ มาร่วมด้วย
          ทำาให้ชาวบ้านรู้สึกตื่นตัวมาก”
             ในส่วนของปัจจัยภายใน คนในชุมชนเองได้รับรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงอันมาจากปัจจัย
          ภายนอกทำาให้ตนเองต้องเปลี่ยนวิธีคิดเสียใหม่เปลี่ยนวิธีคิดเสียใหม่ มีการสื่อสารประชาสัมพันธที่ดี และลักษณะ
          กิจกรรมเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของผู้คนจึงทำาให้มีความใส่ใจเข้าร่วมกิจกรรม พบว่า ฐานคิดที่เปลี่ยนไป
          ทำาให้คนเริ่มตระหนักเห็นความสำาคัญว่าควรมีการเปลี่ยนแปลง  แล้วเข้าไปมีส่วนร่วมในความสำาเร็จ
                                          ้
          คือมีความคิดที่พร้อมจะเดินไปข้างหน้า เป็นนำาไม่เต็มแก้วเพื่อที่จะสามารถเรียนรู้ไปด้วยกัน
             ปัจจัยภายในประการที่สอง คือ การสื่อสารของคนในชุมชนการสื่อสารของคนในชุมชน ประธานชุมชน หน่วยงานภาครัฐ
          มีการสื่อสารและการประชาสัมพันธทั่วถึง เพราะหากไม่มีการสื่อสารจะไม่เกิดความร่วมมือ
          การสื่อสารทำาให้เกิดการชักชวนกันของชาวบ้านที่เคยมาแล้วชักชวนต่อเพื่อมาเข้าร่วม
          กระบวนการ
             นอกจากนี้ ปัจจัยที่ทำาให้สำาเร็จอีกประการหนึ่งเพราะกิจกรรมวิจัย เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต
          ของชาวเชียงคานชียงคาน ทำาให้คนในพื้นที่ต้องการมีส่วนร่วม เพราะตนเองอาจได้รับผลประโยชนหรือ
          ของชาวเ
          ผลกระทบอย่างใดอย่างหนึ่ง การเข้าร่วมกิจกรรมจะทำาให้ตนเองไม่เสียโอกาส เห็นได้ว่าคนที่
          เข้าร่วมกิจกรรมกับส่วนราชการบ่อย ๆ จะมีความรู้ ได้ประโยชน และไปเข้าร่วมกับกิจกรรม
          การพัฒนาของทางราชการอยู่เสมอ เพราะเขาเห็นว่าเมื่อไปเข้าร่วมแล้วได้ประโยชนอย่างไร
          หากไม่เข้าร่วมจะเป็นการปิดโอกาส ดังที่ชาวบ้านในพื้นที่เชียงคานได้เคยประสบมาแล้ว ดังนี้







           58
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65