Page 55 - kpiebook67035
P. 55

สถาบันพระปกเกล้า
                                                          King Prajadhipok’s Institute


          เป็นการต่อยอดทุนทางวัฒนธรรมที่มี และทำาให้ชาวเชียงคานได้พัฒนาศักยภาพแล้ว ยังเป็น
          กิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนอีกด้วย กล่าวคือ การนำาทุนทางวัฒนธรรมที่มี
          ในชุมชนไปใช้เสริมสร้างความมั่นคงทางสังคม เป็นการดำาเนินการที่ตรงกับความต้องการของตรงกับความต้องการของ
          ชุมชนอย่างแท้จริงุมชนอย่างแท้จริง เนื่องจากผู้เข้าร่วมจากภาคส่วนต่าง ๆ ในชุมชนเข้าใจโจทยของกระบวนการ
          ช
          และเข้าใจประเด็นปัญหาในพื้นที่เป็นอย่างดี จึงสามารถสะท้อนความคิดเห็นได้อย่างตรงประเด็น
             อีกทั้งกระบวนการของวิทยากรจากสถาบันพระปกเกล้าที่สามารถกระตุ้นและปลุกเร้าคน
          ให้กล้าคิดกล้าพูด ทำาให้ผู้เข้าร่วมได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นโดยถ้วนหน้า แสดงให้
          เห็นถึงวิถีประชาธิปไตยในชุมชนวิถีประชาธิปไตยในชุมชนของเชียงคานที่น่าภาคภูมิใจ “วิถีประชาธิปไตยในชุมชน
          คนได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น คนกล้าแสดงออก เพื่อร่วมกันปกป้องสิ่งที่คนชุมชน
          มีความหวงแหน ทั้งที่โดยปกติคนเชียงคานจะไม่กล้าแสดงออกเช่นนี้”
             แม้ว่าทำาให้ชาวเชียงคานเห็นว่า จะสามารถนำาเอาทุนทางวัฒนธรรมที่มีในชุมชนไปต่อยอด
          และสร้างรายได้ต่อไปได้อย่างไร อย่างไรก็ตาม มีผู้ให้ความเห็นบางท่านที่เห็นว่า การพัฒนาทุน
          ทางวัฒนธรรมอาจจะยังไม่เห็นผลที่เป็นรูปธรรมชัดเจนในขณะนี้ แต่สิ่งที่เห็นเป็นรูปธรรมชัดเจน
          คือ การสร้างธรรมนูญเชียงคานผ่านกระบวนการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่นที่ทำาให้เกิดร่างข้อ
          บัญญัติท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดระเบียบเมืองและการอนุรักษวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามเอาไว้
             ขณะที่ กลุ่มครูและผู้ปกครอง ให้ความเห็นว่า กิจกรรมของโครงการทำาให้เกิดเวทีสนับสนุน สนับสนุน
          การแสดงออกของเด็กและเยาวชนอย่างสร้างสรรค์ ็กและเยาวชนอย่างสร้างสรรค์ เป็นการส่งเสริมความสามารถ ความคิด
          การแสดงออกของเด
          สร้างสรรค และเปิดโอกาสให้ได้ลองทำาสิ่งใหม่ ๆ จึงทำาให้ชุมชน ครู และผู้ปกครองได้เห็นความสามารถ
          ของเด็กและเยาวชนเชียงคาน “เป็นการจุดประกายความคิดสร้างสรรค ทำาให้เด็กได้กล้าแสดงออก
          ได้ลองทำาสิ่งใหม่ ๆ เช่น การแต่งเพลง” ขณะเดียวกันก็ทำาให้เด็กและเยาวชนเกิดความภาคภูมิใจ
          ในตนเองและเห็นความสามารถของตนเอง เช่น การได้เป็นเจ้าของบทเพลงที่แต่งใหม่
             อีกทั้งคุณค่าทางวัฒนธรรมที่มีอยู่แล้วในชุมชน แต่มีหน่วยงานภายนอกเข้ามาสนับสนุน
          แนะนำา และส่งเสริมต่อยอดในการใช้ประโยชนจากสิ่งเหล่านี้ จะเห็นได้จากเพลงที่แต่งในการ
          ประกวด ทำาให้คนในชุมชนได้จินตนาการตามสิ่งดี ๆ ที่มีในชุมชนและทำาให้คนรู้จักชุมชนมากขึ้น
          รวมไปถึงการทำาให้เด็กและเยาวชนได้ รู้จักชุมชนและสิ่งดี ๆ ที่มีในชุมชนของตนเองมากยิ่งขึ้นรู้จักชุมชนและสิ่งดี ๆ ที่มีในชุมชนของตนเองมากยิ่งขึ้น
          ผ่านบทเพลงที่ใช้ประกวดเหล่านั้น “...ไม่มีหน่วยงานไหนมาจัดกิจกรรมแบบนี้ให้เกิดทุน
          ทางวัฒนธรรม ชุมชนเกิดรอยยิ้ม เกิดความร่าเริงเกิดสันทนาการในชุมชน สิ่งเหล่านี้เป็น
          เรื่องแปลกใหม่ ให้เด็กได้รู้รักถิ่นฐานบ้านเกิด รู้จักวัด รู้จักชุมชนมากขึ้นจากบทเพลง”





                                                                        53
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60