Page 68 - kpiebook67035
P. 68

การเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมของชาติเพื่ออนาคตประชาธิปไตยไทย
           กรณีศึกษาการใช้ทุนทางวัฒนธรรม
           เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคมในพื้นที่เทศบาลตำาบลเชียงคาน

          รู้เรื่องแต่ไม่อยากเข้าร่วมกิจกรรมเพราะคิดว่าเป็นการเสียเวลา ซึ่งเทศบาลอาจประชาสัมพันธ
          ให้เข้าถึงกลุ่มที่หลากหลายมากขึ้นเพื่อให้ประชาชนกลุ่มต่าง ๆ ทราบวันและระยะเวลาในการ
          ร่วมออกแบบกิจกรรม ทั้งนี้ ในกระบวนการรับฟังความคิดเห็นที่มีเนื้อหามาก อย่างเช่น การทำา
          เทศบัญญัติ ซึ่งเป็นกิจกรรมเพื่อให้เกิดกติกาของคนในชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของคนในชุมชนเอง
          พบว่า เวลาในการให้มีข้อชวนคิดชวนคุยอาจจำากัดเกินไป ทำาให้ขาดการวิเคราะห ซึ่งควรมีเวลา
          ส่วนนี้ให้มากขึ้น
             ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มจากภาคประชาชนมีข้อคิดเห็นต่อการแนะนำาให้กับองคกร
          ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นหลายแบบทั้งการแนะนำาให้เข้าดูสิ่งที่เทศบาลดำาเนินการผ่านช่องทาง
          ต่าง ๆ เช่น คิวอารโค้ดที่สามารถเชื่อมเข้าไปดูกิจกรรมที่เทศบาลดำาเนินการเกี่ยวกับการส่งเสริม
          วัฒนธรรม หรือมีการประชาสัมพันธกิจกรรมของเทศบาลผ่านงานเทศกาล มีการประชาสัมพันธ์มีการประชาสัมพันธ์
          ในพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น แล้วเป็นต้นแบบนำาร่องในพื้นที่อื่นในสื่อที่กระจาย
          ในพ
          ไปอย่างรวดเร็ว เช่น การแข่งขันเรือยาวที่มีการถ่ายทอดสดไปทั่วโลก นอกจากนี้ ในกิจกรรม
          ที่มีความซับซ้อนอย่างการร่วมใช้สิทธิในการออกแบบกติกาตนเอง อาจแนะนำาให้ประชาชน แนะนำาให้ประชาชน
          ในพื้นที่อื่นได้เห็นสิทธิและความสำาคัญของการมีส่วนร่วมโดยภาคประชาชน แนะนำาเรื่องสิทธิื้นที่อื่นได้เห็นสิทธิและความสำาคัญของการมีส่วนร่วมโดยภาคประชาชน แนะนำาเรื่องสิทธิ
          ในพ
          ประชาธิปไตยิปไตย ยกตัวอย่างเช่น พระราชบัญญัติการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ.2565
          ประชาธ
          ที่ประชาชนสามารถเสนอกฎหมายตัวเองได้ ซึ่งอาจทำาให้ชุมชนตื่นตัวในหลายพื้นที่และมีตัวแบบ
          ในการเรียนรู้ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับว่าพื้นที่อื่นจะดำาเนินการตามตัวแบบนี้หรือไม่
             นอกจากนี้ ผู้เข้าร่วมการสนทนากลุ่มจากภาคประชาชนกล่าวถึงผู้มีส่วนร่วมในการส่งเสริม
          ทุนวัฒนธรรมท้องถิ่นว่า เดิมชาวเชียงคานได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงาน เช่น มหาวิทยาลัย
          องคกรปกครองส่วนท้องถิ่น องคการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
          (อพท.) วัฒนธรรมจังหวัดเลย มหาวิทยาลัยราชภัฎจังหวัดเลย อีกทั้งยังมีหน่วยงานทั้งภาครัฐและ
          เอกชนเข้ามาศึกษาดูงานเรื่องทุนวัฒนธรรมในพื้นที่อีกหลายหน่วยงาน การพัฒนาทุนวัฒนธรรม
          ในพื้นที่ อาจมีหน่วยงานวิจัยจัดทำาตัวแบบให้ แต่เทศบาลฯ ต้องเป็นหน่วยงานลำาดับแรกที่เอื้อ
          ให้เกิดการมีส่วนร่วมของคนในพื้นที่ ยกตัวอย่างในการออกเทศบัญญัติเพื่อเป็นกติกาชุมชน
          ซึ่งควรมีงบประมาณในการส่งเสริม รวมไปถึงเชื่อมโยงไปกับหน่วยงานระดับจังหวัดที่เกี่ยวข้อง
          เพราะแม้ชุมชนเข้มแข็งเพียงใดก็จำาเป็นต้องมีเครือข่ายเพื่อให้ชุมชนเติบโตอย่างยั่งยืนและ
          อยู่ต่อไปอย่างมั่นคง ซึ่งสอดคล้องกับผู้ให้สัมภาษณที่เห็นว่า ควรมีการบูรณาการการทำางาน
          ส่วนราชการ เช่น ตลาดต้องชม ตลาดต้องชิม ถนนวัฒนธรรม OTOP ทำาให้เป็นเรื่องเดียวกัน
          (01 [สัมภาษณ], 26 กรกฎาคม 2566)



           66
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73