Page 69 - kpiebook67035
P. 69
สถาบันพระปกเกล้า
King Prajadhipok’s Institute
4.3.6 ความรู้สึกมั่นคงในพื้นที่
ความรู้สึกมั่นคงในพื้นที่ เป็นข้อคำาถามที่ว่าในปัจจุบัน ท่านรู้สึกว่ามีความมั่นคงในชุมชน
ของท่านหรือไม่อย่างไร เพราะอะไร พบว่า
กลุ่มผู้บริหารและเจ้าหน้าที่เทศบาล เห็นว่าความมั่นคงทางสังคมในพื้นที่ กลุ่มผู้บริหาร
และเจ้าหน้าที่เทศบาลรู้สึกได้ว่า หลังจากนี้คนในชุมชนจะช่วยกันรักษา สืบสาน และปกป้องทุน คนในชุมชนจะช่วยกันรักษา สืบสาน และปกป้องทุน
ทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ได้
ทางวัฒนธรรมที่มีอยู่ได้ อีกทั้งเห็นว่า คนเชียงคานได้เข้าไปมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการในการ
พัฒนาทุนทางวัฒนธรรมในครั้งนี้ แม้ว่าอาจจะมีความคิดเห็นที่ไม่ตรงกันในบางครั้ง แต่ก็เป็น
เรื่องปกติของทุกชุมชน และที่สำาคัญคือ กระบวนการต่าง ๆ เหล่านี้มาจากความคิดเห็นของ
คนเชียงคานเองทั้งสิ้น นอกจากนี้ การมีเทศบัญญัติเพื่อการจัดการความเป็นระเบียบเรียบร้อย การมีเทศบัญญัติเพื่อการจัดการความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ของเมือง จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยปกป้องเมืองเชียงคานต่อไปได้ชียงคานต่อไปได้
ของเมือง จะเป็นเครื่องมือที่ช่วยปกป้องเมืองเ
กลุ่มครูและผู้ปกครอง มีความคิดเห็นในประเด็นนี้ว่า การรู้สึกถึงความมั่นคงในชุมชน
อาจจะยังมีไม่มากนัก แต่เชื่อว่าเทศบัญญัติที่ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและ เทศบัญญัติที่ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนและ
เ เข้าชื่อเสนอโดยประชาชนนี้จะทำาให้เกิดความมั่นคงทางสังคมในชุมชนได้เมื่อมีการนำาไปใช้จริง ข้าชื่อเสนอโดยประชาชนนี้จะทำาให้เกิดความมั่นคงทางสังคมในชุมชนได้เมื่อมีการนำาไปใช้จริง
อีกทั้งยังสามารถใช้เป็นแนวทางในการออกข้อกำาหนดของชุมชนหรือกฎหมายท้องถิ่นที่มาจาก
ความเห็นของประชาชนเพื่อรับมือกับปัญหาใหม่ ๆ ของชุมชนในอนาคตได้ “ร่างเทศบัญญัติ
จะช่วยสร้างความตระหนัก ถ้าร่างเทศบัญญัติได้นำามาใช้แล้ว จะเป็นปัจจัยที่สำาคัญเป็น
ตัวกระตุ้นให้ชุมชนเชียงคานเกิดความตระหนักในการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น
และยังเป็นกรอบในการสร้างระเบียบวินัยของชุมชน ให้คนเชียงคานได้ดำาเนินไปอย่างถูกต้อง
และมั่นคงปลอดภัยต่อไป”
นอกจากนี้ กลุ่มครูและผู้ปกครองยังเห็นสอดคล้องตรงกันว่า ต้องการให้เชียงคานมีความมั่นคง
ทางสังคมมากขึ้น เช่น ความมั่นคงทางรายได้ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของชุมชน ด้วยการทำาให้
เชียงคานเป็นเมืองที่น่าสนใจและสามารถดึงดูดคนภายนอกให้เข้าไปยังเชียงคานได้ตลอดทั้งปี
ผ่านการปรับปรุงภูมิทัศนและการประชาสัมพันธมากขึ้น ขณะเดียวกันกระแสความนิยม slow
life อาจจะทำาให้เชียงคานเป็นจุดหมายปลายทางของคนกลุ่มนี้ได้
กลุ่มประชาชน การรู้สึกถึงความมั่นคงในชุมชนจากมุมมองของกลุ่มผู้เข้าร่วมจาก
ภาคประชาชน พบว่ารู้สึกถึงทิศทางที่ดีขึ้น ยกตัวอย่างการท่องเที่ยวที่รู้สึกถึงความมั่นใจ 80 %
โดยหวังให้เชียงคานเป็นแหล่งท่องเที่ยวให้ชาวต่างชาติเข้ามา ทั้งนี้ เชียงคานจำาเป็นต้องได้รับ เชียงคานจำาเป็นต้องได้รับ
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของผู้นำา จึงจะทำาให้ความมั่นคงของชุมชนดียิ่งขึ้น ับปรุงเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัยของผู้นำา จึงจะทำาให้ความมั่นคงของชุมชนดียิ่งขึ้น
การปร
เพราะหากไม่มีการพัฒนาปรับปรุงก็ไม่สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน
เพราะหากไม่มีการพัฒนาปรับปรุงก็ไม่สามารถเติบโตได้อย่างยั่งยืน
67