Page 74 - kpiebook67026
P. 74

73



                      3) แนวทางในการกระท�าของรัฐบาล Charles Jacop (1966) Harold
               lasswell และ Abraham Kaplan (1970) และทินพันธ นาคะตะ (1973) กล่าวว่า

               นโยบายสาธารณะ หมายถึง แนวทางในการกระท�าของรัฐบาล หลักการแผนงาน
               หรือแนวทางการกระท�าต่าง ๆ ประกอบด้วย เป้าหมายการปฏิบัติบัญญัติขึ้นเพื่อ

               เป็นแนวทางส�าหรับการปฏิบัติในการจัดสรรคุณค่าต่าง ๆ ให้แก่สังคม

                      ดังนั้น สามารถสรุปความหมายของนโยบายสาธารณะได้ว่า หมายถึง กิจกรรม
               การกระท�าของรัฐบาล และการเลือกตัดสินใจของรัฐบาลหรือแนวทางในการกระท�าของ

               รัฐบาลที่รัฐบาลได้ท�าการตัดสินใจเลือกและก�าหนดไว้ล่วงหน้า เพื่อชี้น�าให้มีกิจกรรม
               การกระท�าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย วัตถุประสงคที่ได้ก�าหนดไว้ โดยมี

               การวางแผนการจัดท�าโครงการ วิธีการบริหารงานหรือกระบวนการด�าเนินงานให้บรรลุ
               วัตถุประสงคในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ด้วยวิธีปฏิบัติงานที่ถูกต้อง เหมาะสมสอดคล้องกับ

               สภาพความเป็นจริง และความต้องการของประชาชนผู้ใช้บริการในแต่ละเรื่อง

                      ขั้นตอนนโยบายสาธารณะ นักวิชาการได้จ�าแนกขั้นตอนนโยบายสาธารณะไว้
               3 ขั้นตอน ดังนี้


                      1) การระบุประเด็นปัญหา เป็นขั้นตอนที่มีอิทธิพลต่อขั้นตอนอื่นในกระบวนการ
               ก�าหนดนโยบาย รวมทั้งมีความสัมพันธกับความส�าเร็จหรือความล้มเหลวของนโยบาย
               เมื่อมีการน�านโยบายไปปฏิบัติในอนาคต จึงมีความจ�าเป็นต้องทราบว่าประเด็นปัญหาใด

               ควรจะน�าเข้าสู่วาระนโยบายเพื่อการพิจารณาและต้องสามารถระบุประเด็นปัญหา

               ที่จะเกิดในอนาคต เพื่อน�าประเด็นปัญหานั้นเข้าสู่วาระของนโยบายในเวลาที่เหมาะสม และ
               ควรทราบปัจจัยที่สนับสนุนให้สามารถน�าประเด็นปัญหาเข้าสู่วาระของนโยบายได้ภายใต้
               โครงสร้างของสถาบัน สภาพแวดล้อม และระบบการเมืองในขณะนั้น ขีดความสามารถ

               ของรัฐบาลในการแก้ไขปัญหาวิธีการเข้าถึงข้อมูล แหล่งข้อมูล และองคการที่ท�าหน้าที่

               ก่อตัวประเด็นปัญหาเพื่อทราบถึงประเด็นปัญหาได้ถูกต้อง ประเภทของข้อมูลที่ใช้
               ในการพิจารณาเทคนิคที่จะน�ามาใช้ระบุประเด็นปัญหา รวมทั้งวิธีการกลั่นกรองประเด็น
               ปัญหา และจัดล�าดับประเด็นปัญหาด้วยเกณฑการพิจารณาต่าง ๆ ประเด็นปัญหา

               ที่ต้องน�าเข้าสู่วาระนโยบายมีมาก ผู้มีอ�านาจตัดสินใจในการก�าหนดนโยบายจะต้องเลือก

               เฉพาะบางประเด็นปัญหาที่เหมาะสม เพื่อน�าไปพิจารณาหรือวิเคราะหในรายละเอียด
               ซึ่งเป็นประเด็นปัญหาที่มีความเหมาะสมและมีประสิทธิภาพสูงสุดหลังจากนั้นประเด็น
               ปัญหาจะน�าเข้าสู่กระบวนการทางการเมืองเพื่อท�าหน้าที่ตัดสินใจต่อไป
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79