Page 80 - kpiebook66032
P. 80
“ในการทำงาน เป็นการพูดคุยกันกับเครือข่าย อย่างงานพัฒนาฐานข้อมูล
เราต้องนั่งคุย 11 เครือข่าย เราเอาหน่วยงาน Service มา Join กับหน่วยงาน
วิชาการ เพื่อออกแบบการให้บริการสาธารณะ เพื่อลดความซ้ำซ้อนของการให้
ท้องถิ่นในโลกยุควูก้า (VUCA WORLD) ศูนย์กลาง
64
บริการของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง”
2) การนำทุกอย่างมาไว้ตรงกลาง: เวทีกลาง กองทุนกลาง ฐานข้อมูลกลางและ
สิ่งที่นำมาไว้ตรงกลาง ส่งผลให้การประสานงานและบริหารจัดการเป็นระบบและ
ต่อเนื่อง ทุกภาคส่วนทำงานบนฐานข้อมูลเดียวกันโดยใช้ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ
มาหนุนเสริม ทำให้การขับเคลื่อนการดำเนินงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ดังกรณีของ
การมีฐานข้อมูลช่วยเรื่องของการเข้าถึงบริการสาธารณะของผู้พิการ
ผลตอบรับของภาคีเครือข่ายต่อการดำเนินงาน พบว่าช่วยให้เกิดการจัดการที่รวดเร็ว
ขึ้นและมีการดำเนินงานที่เป็นระบบมากขึ้น ซึ่งหมายความว่าที่ดำเนินการไปสามารถแก้ปัญหา
และตอบโจทย์ในพื้นที่ได้จริง เพราะไม่จำเป็นต้องใช้คนเยอะ เน้นการใช้ภาคีเครือข่าย
รับผิดชอบตามอำนาจหน้าที่ของตนเอง 65
3) การพัฒนาต่อยอดกิจกรรม/โครงการตามสภาพปัญหาและบริบทของพื้นที่อย่าง
ต่อเนื่อง
สิ่งนี้ส่งผลให้เกิดการขยายเครือความร่วมมือ มีการถอดบทเรียนและเกิดการเรียนรู้
ส่วนที่ บันทึกเรื่องเด่น ดำเนินงานตามบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ไม่มีใครใหญ่กว่าใคร มีเป้าหมายสูงสุดร่วมกัน
ร่วมกัน เติมเต็มและพัฒนาระบบบริการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องร่วมกัน ทุกภาคส่วน
คือ ประชาชน
“ระบบมันถูกดันโดยภาคีเครือข่าย มันถูกยืนโดยทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
มีการประชุมคณะกรรมการศูนย์ 2 เดือน/ครั้ง คณะกรรมการศูนย์ฯ ก็จะ
ประกอบด้วยทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง แต่การประชุมผ่านออนไลน์เราประชุมบ่อย
เพราะว่าถ้ามีปัญหาอะไรก็จะโทรกันเลย ก็จะแก้ปัญหาไปตามหน้างานเพราะ
บริบทของศูนย์แต่ละศูนย์แตกต่างกัน” 66
64 Personal communication, 31 พฤษภาคม 2566.
65 Personal communication, 10 มกราคม 2566.
66 Personal communication, 10 มกราคม 2566.
สถาบันพระปกเกล้า