Page 19 - kpiebook66013
P. 19
อันเป็นเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ มาตรา 77 ประกอบมาตรา 258 ค. ด้านกฎหมาย
24
กระทรวงแรงงาน และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ในฐานะ
ผู้รักษาการตามกฎหมายที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการแรงงานหลายฉบับ และกฎหมาย
ที่เกี่ยวกับการสวัสดิการสังคมซึ่งมีประชากรวัยแรงงานและผู้ใช้แรงงานเป็น
องค์ประกอบส�าคัญร่วมอยู่ด้วยในกฎหมายดังกล่าวจ�านวนไม่น้อย ต้องท�า
การตรวจสอบว่ากฎหมายเหล่านั้นต้องด้วยเงื่อนไขของความในหมวด 5 ของ
พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท�าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
กฎหมาย พ.ศ. 2562 กล่าวคือ ต้องมีการประเมินผลสัมฤทธิ์ทุก 5 ปีหรือตามรอบ
ระยะเวลาอย่างอื่นที่ก�าหนดในกฎกระทรวงนับแต่วันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ
25
และหากผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ปรากฏว่ากฎหมายใดมิได้ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์
ตามวัตถุประสงค์ของการตรากฎหมายนั้นหรือไม่คุ้มค่าส�าหรับภาระที่เกิดขึ้นกับ
ประชาชน ก็จ�าเป็นต้องพิจารณาเพื่อยกเลิก ปรับปรุง หรือแก้ไขเพิ่มเติมต่อไป 26
นอกจากการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายแล้ว พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์
การจัดท�าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562
ยังได้ก�าหนดภารกิจเพื่อสัมฤทธิ์ผลของกฎหมายและเพื่อความสะดวกในการเข้าถึง
กฎหมายของประชาชน โดยก�าหนดให้หน่วยราชการที่รักษาการตามกฎหมายนั้น
27
ต้องจัดท�าค�าอธิบายและค�าแปลของกฎหมาย ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมูลทาง
กฎหมายและกฎเกณฑ์ให้ประชาชนเข้าถึงได้อย่างทั่วถึง 28
24 ส�านักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, การประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมายตามพระราชบัญญัติ
หลักเกณฑ์การจัดท�าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พ.ศ. 2562,
(เอกสารเผยแพร่งานสัมมนา), วันศุกร์ที่ 21 สิงหาคม 2563, จุลนิติ, ก.ย. - ต.ค. 63, หน้า 59.
25 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท�าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 มาตรา 34.
26 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท�าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 มาตรา 35.
27 พระราชบัญญัติหลักเกณฑ์การจัดท�าร่างกฎหมายและการประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
พ.ศ. 2562 มาตรา 36.
28 หลักเกณฑ์การจัดท�าและเผยแพร่ข้อมูลในระบบกลางเพื่อประโยชน์ในการให้ประชาชน
เข้าถึงกฎหมายได้อย่างทั่วถึง ลงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 และหลักเกณฑ์การจัดท�า
และเผยแพร่ข้อมูลในระบบกลางเพื่อประโยชน์ในการให้ประชาชนเข้าถึงกฎหมายได้อย่างทั่วถึง
19