Page 45 - kpiebook66003
P. 45

44   การศึกษาเพื่อถอดบทเรียนและพัฒนาตัวแบบโรงเรียนแห่งความซื่อตรง



                   เป้าหมายตัวแบบพัฒนารูปแบบการสอนคุณธรรมจริยธรรม

          เป็นเหมือนกรอบการดำาเนินงานเพื่อให้สถานศึกษาสามารถพัฒนารูปแบบ
          การสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม สถานศึกษาสามารถ
          ยืดหยุ่นตัวแบบได้ตามความเหมาะสม


                   พีระมิดของการดำาเนินการเพื่อสร้างวัฒนธรรมซื่อตรงของ
          Stephens (2015, p.2) มีลักษณะที่ช่วยอธิบายการเสริมสร้างความซื่อตรง

          ในสถานศึกษาได้ โดย Stephens กล่าวถึงฐานรากของพีระมิดถือเป็น
          การศึกษาและกระบวนการกล่อมเกลาทางสังคมในภาพกว้าง ส่วนระดับกลาง
          เป็นบริบทในการขยายหรือบังคับให้เกิดการศึกษาด้านความซื่อตรง ขณะที่

          ระดับยอดของพีระมิด เป็นมาตรการเพื่อสร้างความรู้ คุณค่า และทักษะด้าน
          ความซื่อตรงกับนักเรียนในระดับบุคคล ดังภาพต่อไปนี้






                                        การเยียวยาระดับบุคคล: เปนการตอบสนอง
                                        อยางทันทีและสมํ่าเสมอตอความไมซื่อตรง
                                    กระบวนการทางจริยธรรมสําหรับกรณีความประพฤติมิชอบ
                              นักเรียน
                                     การแทรกแซงเพื่อเสริมสรางความเขาใจและความมุงมั่น

                                      การปองกันในบริบทเฉพาะ: ชั้นเรียนหรือหลักสูตร
                                     การอภิปรายความสําคัญของความซื่อตรงและขอบเขต
                         นักเรียนและครู
                                      ของความไมซื่อสัตย การประเมินที่เปนธรรม เปนตน

                                       การศึกษาในระดับโรงเรียน: โครงการปฐมนิเทศ
                     นักเรียน ครู ผูบริหาร   สภานักเรียน คูมือนักเรียน คณะกรรมการนักเรียน
                                        วัฒนธรรมโรงเรียนที่สงเสริมตอความซื่อตรง
                       และผูปกครอง




             ภาพ 2.1 การเสริมสร้างความซื่อตรงด้วยการด�าเนินการสามระดับ
          ที่มา: Stephens (2015, p.2)
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50