Page 301 - kpiebook65066
P. 301

230






                       ๆ ชวยในการดําเนินโครงการ ชวยในการประชาสัมพันธสรางความเขาใจแกคนในพื้นที่ เพื่อให
                       ตระหนักถึงความสําคัญของการลดปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
                                            (2.7) มีระบบดี บางโครงการการดําเนินโครงการสะทอนใหเห็นถึงการ
                       แกไขปญหาระยะยาวอยางเปนระบบตั้งแตตนน้ํายังปลายน้ํา เชน แกปญหาทั้งดานการศึกษา และ

                       การประกอบอาชีพ แกปญหาทั้งผูปกครอง เด็ก และเยาวชน และสถานศึกษา
                                            (2.8) มีความคิด (Ideas) และนวัตกรรมทางการศึกษาดี อาทิ มีการใช
                       ครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียนเพื่อดูแลเด็ก และเยาวชนที่ประสบปญหาอยางใกลชิดในรูป
                       ของครูพอครูแม การจัดประสบการณเด็กแบบใหมทําใหเด็กสามารถเรียนรูจากสิ่งตาง ๆ ที่มีอยู

                       รอบตัวได ทําใหเกิดความเทาเทียมทางการศึกษา หรือการพบเจออุปสรรคในการดําเนินโครงการทํา
                       ใหมีการปรับเปลี่ยนกิจกรรมไปตามสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ทําใหเกิดนวัตกรรมใหม ๆ ทาง
                       การศึกษาที่สอดคลองกับบริบทของพื้นที่
                                            (2.9) เปนตนแบบที่ดี บางโครงการ ความสําเร็จของการดําเนินโครงการ

                       ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นไดกลายมาเปนตนแบบ เปนแหลงเรียนรู เปนแหลงดูงานขององคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่น และหรือหนวยงานอื่น ๆ
                                     3) บทเรียนกลไกการทํางานรายพื้นที่ จากการถอดบทเรียนองคกรปกครองสวน

                       ทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตนแบบจํานวน 5 แหง ผูวิจัยไดสังเคราะหขึ้นมาเปนบทเรียนกลไก
                       การทํางานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใน 5 โครงการ ไดแก (1) โครงการกองทุนเพื่อสนับสนุน
                       และชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียน (2) โครงการ
                       ความรวมมือระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันการศึกษา และสถานประกอบการในพื้นที่
                       เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา สําหรับเยาวชนในพื้นที่ (3) โครงการกองทุนปจจัย

                       ยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนที่ขาดแคลน (4) โครงการการสรางภาคีเครือขายเพื่อระดมทุน
                       ชวยเหลือการศึกษาแกเด็กยากจนพิเศษ และ (5) โครงการการพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณเด็ก
                       ปฐมวัยโดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลียเพื่อสรางความเทาเทียมทางการศึกษา


                              5.1.2 ผลการเสริมสราง และขับเคลื่อนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นแหงใหม ใหดําเนิน
                       โครงการเสริมสรางความเสมอภาคทางการศึกษาในพื้นที่
                                     จากการขับเคลื่อนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นพัฒนาโครงการ ผานการวิเคราะห

                       สภาพปญหา ผลเสีย และผลกระทบที่เกิดขึ้นในพื้นที่ การวิเคราะหหาสาเหตุของปญหา และวิเคราะห
                       ผูที่มีสวนเกี่ยวของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการไดพัฒนามาเปนโครงการลดความ
                       เหลื่อมล้ําทางดานการศึกษาขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจํานวนทั้งสิ้น 13 โครงการ โดยสามารถ
                       จําแนกไดเปน ๔ กลุมหลัก ไดแก

                                      กลุมที่ 1 การปองกันเด็ก และเยาวชนไมใหหลุดจากระบบการศึกษา และการสราง
                       โอกาสทางการศึกษาใหกับเด็ก และเยาวชนที่อยูนอกระบบการศึกษา จํานวน ๕ โครงการ ไดแก (๑)
                       โครงการกองทุนเพื่อการเขาถึงการศึกษาอยางมีคุณภาพสําหรับเด็กเยาวชนตําบลวอแกว (องคการ
                       บริหารสวนตําบลวอแกว) (๒) โครงการอบรมทักษะชีวิตแกเด็ก และเยาวชน เพื่อปองกันการหลุดจาก

                       ระบบการศึกษาของเด็ก และเยาวชนตําบลตาตุม (องคการบริหารสวนตําบลตาตุม) (๓) โครงการ
   296   297   298   299   300   301   302   303   304   305   306