Page 305 - kpiebook65066
P. 305

234






                       การประเมินผลโครงการได ดังนั้นคณะผูวิจัยจึงเห็นควรใหมีการขยายระยะเวลาการดําเนินการวิจัย
                       ออกไป หรือแบงการดําเนินการวิจัยออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะแรกเปนระยะการพัฒนาโครงการ
                       ระยะที่สองเปนระยะของการติดตาม ประเมินผลโครงการ และถอดบทเรียน ก็จะทําใหการขับเคลื่อน
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางสมบูรณ

                                     10) ควรสงเสริม และผลักดันใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่เขารวมโครงการ
                       ขยายผลการดําเนินโครงการไปยังองคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ๆ หรือขยายไปยังพื้นที่อื่น ๆ
                       กลุมเปาหมายอื่น ๆ เพื่อใหเกิดการแตกออกของการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่น ดวยเพราะ
                       สถาบันพระปกเกลาเพียงหนวยงานเดียวไมสามารถทําไดเองทั้งหมด


                              5.2.2 ขอเสนอแนะเชิงนโยบาย
                                     สถาบันพระปกเกลาควรเปนตัวกลางในการผลักดันใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       ทุกแหงในประเทศมีอํานาจหนาที่ในการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ของตน ทั้ง

                       การปรับปรุงกฏหมายที่เกี่ยวของ การผลักดันในเชิงนโยบายใหหนวยงานที่ดูแลองคกรปกครองสวน
                       ทอถิ่นกําหนดเปนนโยบายของหนวยงาน เพื่อใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นนําไปปฏิบัติ


                              5.2.3 ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป
                                     1) ควรมีการทําวิจัยติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียนโครงการทั้ง 13 โครงการ
                       เพื่อใหทราบถึงผลการดําเนินโครงการ ปจจัยที่สงผลตอความสําเร็จ และความลมเหลวในการดําเนิน
                       โครงการ
                                     2) ควรมีการศึกษาวิจัยในประเด็นที่เกี่ยวของกับการพัฒนากองทุนเพื่อลดความ

                       เหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็ก และเยาวชน ดวยกองทุนเปนกลไกหนึ่งที่จะชวยสรางความยั่งยืน
                       ใหกับการแกไขปญหาความเหลื่อมล้ํา
                                     3) ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อสงเสริมใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดทําระบบ

                       ฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับปญหาความเหลื่อมล้ําในระดับพื้นที่ ดวยองคกรปกครองสวนทองถิ่นอยูใน
                       พื้นที่ มีความเขาใจพื้นที่ ดวยแตละพื้นที่มีสภาพปญหาที่แตกตางกันไป อีกทั้งสภาพปญหามีการ
                       เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว การแกไขปญหาตองการขอมูลที่ทันสมัย ระบบฐานขอมูลที่เกี่ยวของกับ
                       ปญหาความเหลื่อมล้ําในระดับพื้นที่จะชวยทําใหการตัดสินใจขององคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไป

                       อยางมีประสิทธิภาพ
                                     4) ควรมีการศึกษาวิจัยเพื่อถอดบทเรียนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ประสบ
                       ความสําเร็จในการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาที่ไมไดอยูในโครงการ เพื่อใชเปนตัวแบบใหกับ
                       องคกรปกครองสวนทองถิ่นอื่น ๆ
   300   301   302   303   304   305   306   307   308   309   310