Page 303 - kpiebook65066
P. 303

232






                       based) เชน องคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยูในพื้นที่ที่มีปญหาความเหลื่อมล้ําสูง หรือเลือกตาม
                       สภาพปญหาซึ่งเปนสถานการณความเหลื่อมล้ําที่ตองแกไขปญหากอนในหวงเวลานั้น ๆ เชน ปญหา
                       เด็กหลุดจากระบบการศึกษาอันเนื่องมาจากสถานการณการแพรระบาดของโควิด-19 ปญหาความ
                       เหลื่อมล้ําในกลุมเด็กพิเศษ เพื่อใหเกิดการขับเคลื่อนโครงการในระดับมหภาค สามารถขับเคลื่อนไดใน

                       เชิงพื้นที่ ในเชิงประเด็นปญหา อีกทั้งยังทําใหการบริหารโครงการสามารถทําไดอยางมีประสิทธิภาพ
                                     2) ดวยในรายงานครั้งนี้ไดมีการถอดบทเรียนโครงการที่ไดดําเนินการไปแลวในระยะ
                       ที่ 1 ทําใหไดโครงการลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา 5 โครงการ ไดแก (1) โครงการกองทุนเพื่อ
                       สนับสนุน และชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียน (2)

                       โครงการความรวมมือระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ
                       ในพื้นที่ เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในระดับอาชีวศึกษา สําหรับเยาวชนในพื้นที่ (3) โครงการ
                       กองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนที่ขาดแคลน (4) โครงการการสรางภาคีเครือขายเพื่อ
                       ระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็กยากจนพิเศษ และ (5) โครงการการพัฒนารูปแบบการจัด

                       ประสบการณเด็กปฐมวัยโดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลียเพื่อสรางความเทาเทียมทางการศึกษา ดังนั้น
                       เพื่อเปนการขยายผลโครงการไปสูพื้นที่อื่น ๆ สถาบันพระปกเกลาอาจใชโครงการดังกลาวเปน
                       แนวทางในการรับสมัครองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จะใชในการแกไขปญหาความเหลื่อมทางการ

                       ศึกษาในพื้นที่ของตน ก็จะทําใหเกิดการขยายผลการดําเนินโครงการ ทําใหเกิดเครือขายความรวมมือ
                       ระหวางกันได
                                     3) ดวยผูสมัครเขารวมโครงการสวนใหญเปนปจเจกบุคคล อาทิ ผูบริหารองคกร
                       ปกครองสวนทองถิ่น บุคลากรขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สนใจในโครงการ ในขณะที่
                       คณะทํางานที่จะทําหนาที่ในการขับเคลื่อนโครงการไมไดเขารวมในกระะบวนการในชวงแรก สงผลให

                       การลงพื้นที่ขับเคลื่อนตองใชเวลาในการชี้แจงรายละเอียดของโครงการใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น
                       แตละแหงอีกครั้ง ทําใหในชวงระยะแรกของการทํางาน ผูวิจัยยังไมสามารถที่จะดําเนินการตาม
                       กระบวนการที่กําหนดไวไดซึ่งสงตอขั้นตอนการดําเนินงานตอ ๆ มามีความลาชา ดังนั้นคณะผูวิจัยจึงมี

                       ขอเสนอวา ในกระบวนการขับเคลื่อนโครงการ ภายหลังจากไดองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จะสมัคร
                       เขารวมโครงการแลว สถาบันพระปกเกลาอาจมีการกําหนดใหมีการอบรมใหความรูเกี่ยวกับโครงการ
                       แกคณะทํางานขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่จะเขามารับผิดชอบโครงการอีกครั้ง เพื่อใหเกิดความ
                       เขาใจที่มีตอโครงการ ไดรับทราบถึงแนวทางปฏิบัติตาง ๆ ไดมีความรูเกี่ยวความเหลื่อมล้ําทางการ

                       ศึกษากอนที่ผูวิจัยจะไดลงพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนโครงการ
                                     3) ดวยเมื่อเปรียบเทียบสัดสวนขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สมัครเขารวม
                       กิจกรรมการเปดตัวโครงการซึ่งมีจํานวนมาก แตองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่สมัครเขารวมโครงการมี
                       จํานวนนอย สถาบันพระปกเกลาควรมีการวิเคราะหถึงสาเหตุที่ทําใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นสวน

                       ใหญไมเขารวมโครงการ เพื่อนํามาใชเปนแนวทางในการปรับปรุงการดําเนินงานใหสอดคลองกับความ
                       ตองการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
                                     4) ดวยผูนําองคกรเปนปจจัยสําคัญตอความสําเร็จของโครงการ กอปรกับผลจาก
                       การดําเนินงานพบวา มีองคกรปกครองสวนทองถิ่นหลายแหงที่ผูนําองคกรมีสวนรวมเฉพาะในสวน

                       ของการรับรูโครงการ แตไมไดเขามาเปนสวนหนึ่งในกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการ สงผลใหโครงการ
   298   299   300   301   302   303   304   305   306   307   308