Page 130 - kpiebook65066
P. 130

63






                       รายไดกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อความเสมอ
                       ภาค ซึ่งจะไดมาจาก 4 แหลง ไดแก (1) ภาคีเครือขายกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนใน
                       เขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม (2) งานบุญ เพื่อกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขต
                       บริการโรงเรียนบานเขาตูม (3) ตูรับบริจาค และ (4) ซากาตของประชาชน มีการกําหนด

                       กลุมเปาหมายที่ชัดเจน รวมถึงกําหนดแนวทางการชวยเหลือโดยกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และ
                       เยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม ไดแก (1) มอบทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็กอายุ 6 – 15 ปที่
                       มีปญหาซ้ําซอน คือ กําพราและยากจน หยาราง และยากจน (2)  มอบโอกาสใหเด็กอายุ 6 – 15 ปที่
                       ไมไดรับการศึกษา เพื่อเขาระบบการศึกษานอกโรงเรียน พรอมสนับสนุนทุนปจจัยยังชีพ ซึ่งในปจจุบัน

                       ไดมีกิจกรรมระดมทุน และการสนับสนุนทุนการศึกษาแกเด็ก และเยาวชน

                              ๒.๒.๔ โครงการการสรางภาคีเครือขายเพื่อระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็กยากจน
                       พิเศษโรงเรียนบานตะบิงตีงี ขององคการบริหารสวนจังหวัดปตตานี

                                     1) โครงการเริ่มตนจากการสํารวจขอมูลเพื่อจัดทําฐานขอมูลความเหลื่อมล้ําใน
                       พื้นที่ โดยไดรับการมีสวนรวมจากภาคสวนตาง ๆ ในชุมชน เชนเดียวกับโครงการกองทุนปจจัยยัง
                       ชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ของ

                       องคการบริหารสวนจังหวัดปตตานี หลังจากเขารวมโครงการ โรงเรียนบานตะบิงตีงีเริ่มตนจากการ
                       สํารวจขอมูลความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ซึ่งจากผลการสํารวจชุมชนที่อยูในพื้นที่เขตบริการของ
                       โรงเรียนบานตะบิงตีงี หมูที่ 3 ตําบลลุโบะยิไร อําเภอมายอ จังหวัดปตตานี ทําใหพบสภาพปญหาเด็ก
                       ยากจนพิเศษ โดยพบวาจากจํานวนนักเรียน อายุ 3-15 ป ทั้งหมด 205 คน (ป 2564) มีเด็กที่
                       ยากจนพิเศษซึ่งเปนนักเรียนกลุมเปาหมายจํานวน 30 คน จําแนกเปนกําพรา และยากจน 3 คน หยา

                       ราง และยากจน 11 คน ยากจน 16 คน โดยมีสาเหตุมาจากฐานะทางครอบครัวที่คอนขางยากจน
                       เปนเด็กกําพรา และพอแมหยาราง เปนตน ประกอบกับการแกปญหาเพื่อใหเด็กในชุมชนไดรับ
                       การศึกษาจําเปนที่จะตองเขาใจสภาพสังคม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมของหมูบาน ลักษณะผูนํา

                       ทองถิ่น ชาวบาน คานิยม ความเชื่อ ศิลปวัฒนธรรมประเพณี ศาสนา ตลอดจนสภาพปญหาตาง ๆ
                       เพื่อเปนขอมูลในการวางแผนการใหเด็กไดรับการศึกษา การทําใหประชาชนในชุมชนเกิดการเรียนรู
                       เกิดความตระหนักที่จะรวมแกไขปญหาของชุมชน ดานความรวมมือ รวมใจ และเกิดการเอื้ออาทรตอ
                       กัน อันจะสงผลใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน และการมีสวนรวมในกระบวนการพัฒนาชุมชน และประเทศ

                       ในการนี้โรงเรียนบานตะบิงตีงี องคการบริหารสวนจังหวัดปตตานี ไดทํางานรวมกับชุมชน และภาคี
                       ดวยเหตุนี้ องคการบริหารสวนจังหวัดปตตานีจึงเลือกวิธีการแกปญหาโดยการสรางภาคีเครือขายใน
                       ชุมชนเพื่อระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็กยากจนพิเศษโรงเรียนบานตะบิงตีงี ขององคการบริหาร
                       สวนจังหวัดปตตานี ซึ่งผลการสํารวจครั้งนี้ ไดนํามาสูการดําเนินโครงการการสรางภาคีเครือขายเพื่อ

                       ระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็กยากจนพิเศษโรงเรียนบานตะบิงตีงี ขององคการบริหารสวน
                       จังหวัดปตตานี
                                     ๒) โครงการสามารถดึงการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ในสังคม จนทําใหเกิด
                       ภาคีเครือขายชวยเหลือเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ การดําเนินโครงการครั้งนี้โรงเรียนบานตะบิงตีงี

                       สามารถดึงภาคีเครือขายใหเขามามีสวนรวมในการดําเนินโครงการจํานวนมาก ไดแก องคการบริหาร
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135