Page 129 - kpiebook65066
P. 129

62






                       เขาตูม สังกัดองคการบริหารสวนจังหวัดปตตานียังไมมีขอมูลความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็ก
                       และเยาวชน แตหลังจากที่ไดเขารวมในโครงการ โรงเรียนไดเริ่มใชเครื่องมือที่นักวิจัยออกแบบไวเก็บ
                       ขอมูลความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา ทั้งขอมูลเชิงปริมาณ และขอมูลเชิงคุณภาพ โดยการเก็บขอมูล
                       ดังกลาว โรงเรียนไดรับความมือจากภาคสวนตาง ๆ ในชุมชนจนนํามาสูการจัดตั้งคณะกรรมการ

                       กองทุนฯ
                                     จากการสํารวจทําใหโรงเรียนพบวา จากจํานวนเด็ก และเยาวชนทั้งหมด 1,233
                       คน มีเด็ก และเยาวชนอายุ 6 – 15 ป ที่ไดรับการศึกษาแตขาดแคลนทุนทรัพย 151 คน กลุมเด็ก
                       และเยาวชนอายุ 6 – 15 ปที่ไมอยูในระบบการศึกษา 14 คน กลุมเด็ก และเยาวชนอายุ 16 – 18

                       ป ไดรับการศึกษาแตขาดแคลนทุนทรัพย 50 คน กลุมเด็กและเยาวชนอายุ 6 – 15 ปที่ไมอยูใน
                       ระบบการศึกษา 29 คน จนเปนที่มาของกลุมเปาหมายในการดําเนินโครงการ
                                     นอกจากนี้การสํารวจขอมูลดังกลาวยังทําใหโรงเรียนพบสาเหตุที่ทําใหเด็ก และ
                       เยาวชนขาดแคลนทุนทรัพยในการสนับสนุนคาเลาเรียนเกิดจาก (1) ผูปกครองตกงานขาดรายได ทํา

                       ใหไมสามารถสนับสนุนคาใชจายใหกับบุตรหลานไดไปโรงเรียนอยางเพียงพอ (2) มีบุตรหลานหลาย
                       คน ทําใหรายไดที่มีอยูจํากัดไมเพียงพอตอการใชจายในครัวเรือน สงผลกระทบตอคาเลาเรียนของบุตร
                       หลาน และ (3) ครอบครัวแตกแยก แมเลี้ยงเดี่ยว สงผลกระทบตอสภาพเศรษฐกิจขาดรายไดในการ

                       ดูแลและสนับสนุนการเลาเรียนของบุตร
                                     ดังนั้นการสํารวจขอมูลปญหาความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็ก และเยาวชนใน
                       พื้นที่ จึงทําใหโรงเรียนสามารถแกไขปญหาไดสอดคลอง และครอบคลุมกับปญหาดังกลาว
                                     ๒) โครงการสามารถดึงการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ ในสังคม จนทําใหเกิด
                       ภาคีเครือขายชวยเหลือเด็ก และเยาวชนในพื้นที่ จุดเดนประการหนึ่งในการดําเนินโครงการของ

                       โรงเรียนบานเขาตูม ไดแก การดําเนินโครงการโดยการสรางการมีสวนรวมจากภาคสวนตาง ๆ ใน
                       สังคมมาไดจํานวนมาก จนเปนภาคีเครือขายชวยเหลือเด็ก และเยาวชนในรูปแบบของคณะกรรมการ
                       กองทุน ทั้งในสวนขององคการบริหารสวนตําบลเขาตูม ผูใหญบาน สมาชิกสภาจังหวัดเขต 4

                       การศึกษานอกโรงเรียน อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพประจํา
                       ตําบล บัณฑิตอาสาสมัคร กรรมการสถานศึกษา โรงเรียนปญญาธรรมอนุสรรณี ทหารพราน ฉก.
                       2210 อีหมานประจํามัสยิด การไฟฟาสวนภูมิภาค และโรงเรียนบานเขาตูม
                                     ๓) การดําเนินการในรูปแบบของกองทุน ทําใหโครงการสามารถดึงทรัพยากร

                       บุคค ทรัพยากรเงิน และความรวมมือมาไดอยางยั่งยืน ทําใหการบริหารโครงการเปนไปอยาง และ
                       มีประสิทธิภาพ เชนเดียวกับองคการบริหารสวนตําบลนาขอม โครงการของโรงเรียนบานเขาตูมไดทํา
                       ใหเกิดกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อความเสมอ
                       ภาคทางการศึกษาปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อความ

                       เสมอภาคทางการศึกษา ที่ทําหนาที่ในการระดมเงินทุน ระดมทรัพยากรบุคคลในรูปของ
                       คณะกรรมการกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อ
                       ความเสมอภาคทางการศึกษา ซึ่งประกอบไปดวยประธาน ที่ปรึกษากองทุน รองประธาน 3 คน
                       เลขานุการกองทุน เหรัญญิก ฝายประชาสัมพันธ ฝายทะเบียน ฝายปฏิคม ฝายจัดหาทุน และฝาย

                       ประสานงานทําใหเกิดการบริหารกองทุนอยางมีระบบ โดยคณะกรรมการกองทุนไดกําหนดที่มาของ
   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134