Page 128 - kpiebook65066
P. 128
61
ตาง ๆ ในพื้นที่ โดยมีการจัดทําเปน MOU ระหวางเทศบาลเมืองบางกะดี กับสถานประกอบการเพื่อ
รับนักเรียนระดับอาชีวศึกษาเขาฝกงาน และทํางาน โดยมีสวนอุตสาหกรรมบางกะดีเปนผู
ประสานงาน วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี เพื่อรับนักเรียนที่จบมัธยมศึกษาปที่ 3 ในตําบลบางกะดีเขา
ศึกษาในระดับอาชีวศึกษา ในสาขาที่สถานประกอบการตองการ นอกจากนี้ยังมีหนวยงานอื่น ๆ เขา
มามีสวนรวมในการดําเนินโครการ อาทิ กลุมงานนโยบาย และแผนงานจังหวัดปทุมธานี ดานการ
ประชาสัมพันธเผยแพรขอมูลขาวสารของโครงการ มีรองผูวาราชการจังหวัดปทุมธานีมาลงนามเปน
สักขีพยานในการทํา MOU สมาชิกสภาผูแทนราษฎรจังหวัดปทุมธานี เขต 1 นายกองคการบริหาร
สวนจังหวัดปทุมธานี ทองถิ่นจังหวัดปทุมธานี ผูชวยอุตสาหกรรมจังหวัด และการประชาสัมพันธการ
จัดกิจกรรม โดยภาคเอกชน และสํานักขาวทองถิ่นปทุมธานี การมีสวนรวมผานคณะกรรมการ
พิจารณาทุน ซึ่งประกอบไปดวยผูแทนจากเทศบาลเมืองบางกะดี ผูแทนจากสถานประกอบการ และ
ผูแทนจากชุมชน เปนตน ดังนั้นโครงการดังกลาวจึงทําใหเกิดภาคีเครือขายในการชวยเหลือเยาวชน
รวมถึงเปนโครงการที่สรางการมีสวนรวมจากหลายฝายที่เกี่ยวของ ทําใหผูเขารวมเห็นความสําคัญ
ของการดําเนินโครการที่ชวยลดความเหลื่อมในพื้นที่ของเทศบาล
5) การดําเนินโครงการสะทอนใหเห็นการแกไขปญหาระยะยาวอยางเปนระบบ
การดําเนินโครงการดังกลาวนี้ เปนการสรางรวมมือทั้ง 3 ฝาย ทั้งจากเทศบาล สถานประกอบการ
และวิทยาอาชีวศึกษา โดยการทํา MOU เพื่อสนับสนุนทุนการศึกษาใหกับเยาวชนสําหรับเรียนใน
วิทยาลัยอาชีวศึกษาในพื้นที่ที่มีหลักสูตรที่ตอบสนองตอความตองการของผูประกอบการ การที่สถาน
ประกอบการใหโอกาสเยาวชนที่ไดรับทุนไดฝกงาน ไดประกอบอาชีพเมื่อจบการศึกษาแลว แสดงให
เห็นการแกไขปญหาอยางเปนระบบ เปนการแกปญหาระยะยาวใหกับเยาวชน ทําใหการแกไขปญหา
ความเหลื่อมล้ําทางการศึกษามีโอกาสที่จะประสบความสําเร็จ และมีความยั่งยืน แมกระบวนการตาง
ๆ จะตองใชเวลานานก็ตาม
6) โครงการเปนตัวอยางของการขับเคลื่อนเพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษา
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นที่อยูในเขตเมือง ที่เนนสงเสริมดานการศึกษา ควบคูไปกับการ
พัฒนาอาชีพ ดวยบริบทของเทศบาลเมืองบางกะดีอยูในเขตพื้นที่เมืองที่ประชาชนสวนใหญจึง
ประกอบอาชีพรับจาง คาขาย ทํางานในโรงงานจึงมีคาครองชีพที่ไมเพียงพอตอการใชจายในการ
ดํารงชีวิต ดังนั้นพอแมผูปกครองจึงไมสามารถสงบุตรหลานใหไดศึกษาตอในระดับสูง ๆ ได ทําใหเด็ก
และเยาวชนขาดโอกาสในการเขาศึกษาตอ จากปญหาดังกลาวทําใหเทศบาลเห็นวา การขับเคลื่อน
เพื่อลดความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาในพื้นที่ลักษณะนี้หากเนนเฉพาะการศึกษาในระยะยาว อาทิ การ
เรียนตอในระดับอุดมศึกษาอาจไมตอบสนอง และไมสามารถแกไขปญหาดังกลาวได การสงเสริมดาน
การศึกษาในสายอาชีพ จึงนาจะมีความเหมาะสมมากกวา ซึ่งสอดคลองกับความตองการของเยาวชน
และสอดคลองกับสภาพบริบทเชิงพื้นที่
2.๒.3 โครงการกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบาน
เขาตูม เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา ขององคการบริหารสวนจังหวัดปตตานี
1) โครงการเริ่มตนจากการสํารวจขอมูลเพื่อจัดทําฐานขอมูลความเหลื่อมล้ําใน
พื้นที่โดยไดรับการมีสวนรวมจากภาคสวนตาง ๆ ในชุมชน เดิมกอนดําเนินโครงการ โรงเรียนบาน