Page 123 - kpiebook65066
P. 123

56






                       โดยตรงทั้งระยะสั้นและระยะยาว การพัฒนาศักยภาพดานภาษาตางประเทศใหกับครู โดยการันตีวา
                       เด็กที่จบจากศูนยสามารถใชภาษาอังกฤษ และหรือภาษาที่สามอื่น ๆ ได (2) เนนการสอน
                       ภาษาตางประเทศเพื่อการใชงานมากกวาไวยากรณ เชน เนนการสื่อการ การพูด “ความกลาที่จะพูด”
                       (3) จัดหาผูเชี่ยวชาญเพื่อมาวางหลักสูตรเพื่อพัฒนาทักษะดานภาษาตางประเทศใหกับเด็ก และ (4)

                       ประเมินการสอนออนไลน เพื่อนําขอมูลมาพัฒนาการสอน เนื่องจากการสอนออนไลนจะเปนแนว
                       ทางการสอนในอนาคต
                                            (2.5) ดานการบริหารจัดการศูนย จุดเดน คือ (1) องคการบริหารสวน
                       ตําบลใหการสนับสนุนศูนยเปนอยางดี และ (2) คณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย มีการพูดคุย

                       กันเปนประจําสม่ําเสมอ ขอจํากัด คือ (1) ผลการประเมินตนเองพบวาศูนยฯ ยังไมมีการดําเนินงานที่
                       จะทําใหสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยเปนแหลงเรียนรูแกชุมชนในเรื่องของการพัฒนาเด็กปฐมวัย  (2) ผล
                       การประเมินตนเองในสวนของคณะกรรมการสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยชี้ใหเห็นวา แมศูนยฯ จะมี
                       คณะกรรมการฯ และมีการประชุมพูดคุยกันสม่ําเสมอ แตยังขาดการเก็บขอมูลการประชุมที่เปนลาย

                       ลักษณอักษร ขอเสนอแนะ คือ อบต.อาจพิจารณาหาเครือขายที่เปนผูเชี่ยวชาญมาชวยเปนที่ปรึกษา
                       ใหกับศูนยฯ เพื่อชวยกันพัฒนาศูนยฯ พัฒนาครู ผูดูแลเด็ก การเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยในพื้นที่
                                            อยางไรก็ตามจากการติดตามการดําเนินโครงการพบวา องคการบริหาร

                       สวนตําบลบางครก ยังไมไดนําผลประเมินดังกลาวไปจัดทําแผนเพื่อพัฒนาศูนยพัฒนาเด็กเล็ก หรือ
                       นําไปใชในการปรับปรุงคุณภาพของศูนย

                       2.2 บทเรียนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตนแบบ
                              สําหรับการถอดบทเรียนองคกรปกครองสวนทองถิ่นที่ไดรับการคัดเลือกใหเปนตนแบบซึ่งมี

                       จํานวน ๕ โครงการ ไดแก (1) โครงการกองทุนเพื่อสนับสนุนและชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลด
                       ความเหลื่อมล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบลนาขอม (2) โครงการความรวมมือเพื่อเพิ่ม
                       โอกาสทางการศึกษาสําหรับเยาวชนในตําบลบางกะดี (๓) โครงการกองทุนปจจัยยังชีพสําหรับเด็ก

                       และเยาวชนในเขตบริการโรงเรียนบานเขาตูม เพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาขององคการบริหาร
                       สวนจังหวัดปตตานี (๔) โครงการการสรางภาคีเครือขายเพื่อระดมทุนชวยเหลือการศึกษาแกเด็ก
                       ยากจนพิเศษโรงเรียนบานตะบิงตีงี ขององคการบริหารสวนจังหวัดปตตานี และ (๕) โครงการ
                       การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณเด็กปฐมวัยโดยใชแนวคิดเรกจิโอ เอมีเลียในสถานศึกษาสังกัด

                       เทศบาลเมืองลําพูนเพื่อลดความเหลื่อมล้ําดานสังคมและการศึกษา พบวาแตละแหงมีจุดเดนที่
                       สามารถนําไปใชเปนแนวทางในการขับเคลื่อนองคกรปกครองสวนทองถิ่นใหเปนกลไกลดความเหลื่อม
                       ล้ําทางดานการศึกษา ดังรายละเอียดตอไปนี้


                              2.2.1 โครงการกองทุนเพื่อสนับสนุน และชวยเหลือภาวะโภชนาการเพื่อลดความเหลื่อม
                       ล้ําทางการศึกษาของเด็กนักเรียนในเขตตําบลนาขอม
                                     1) ที่มาของโครงการเกิดจากการมีสวนรวมของทุกภาคสวน ทั้งในการระดม
                       ความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหา การวิเคราะหทางออกของปญหา และการดําเนินโครงการ โดย

                       โครงการดังกลาวไดมีผูที่เขามามีสวนรวมหลายฝาย ทั้งในสวนขององคการบริหารสวนตําบล กลุม
   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127   128