Page 121 - kpiebook65066
P. 121

54






                       จํานวนประชากรดังกลาวมีเด็กปฐมวัย อายุ 2-5 ป จํานวนทั้งหมด 275 คน (ป 2564) จําแนกเปน
                       ศูนยพัฒนาเด็กเล็กของ อบต. 58 คน โรงเรียนอื่น ในพื้นที่  5 โรงเรียน จํานวน 118 คน 99 คน
                       เขาไปเรียนในเมือง ดังนั้นจึงมีผูปกครองที่นําเด็กมาเรียนกับ อบต.คอนขางนอย (21%) เด็กที่เขาไป
                       เรียนในเมืองผูปกครองตองเสียคาใชจายมาก

                                     ทั้งนี้องคการบริหารสวนตําบลบางครกใหหาวิธีการแกไขปญหาดังกลาว และไดเลือก
                       ที่จะจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของศูนยพัฒนาเด็กเล็กองคการบริหารสวนตําบลบางครกเปนวิธีการ
                       แกไขปญหา เพื่อสรางทัศนคติใหกับผูปกครองใหเห็นความสําคัญของการนําเด็กเขาเรียนในศูนย
                       พัฒนาเด็กเล็ก โดยไดดําเนินโครงการจัดทําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก

                       องคการบริหารสวนตําบลบางครก เพื่อลดความเลื่อมล้ําทางการศึกษา โดยมีวัตถุประสงคในการ
                       ดําเนินโครงการเพื่อจัดทําแผนพัฒนาการศึกษาของศูนยพัฒนาเด็กเล็กองคการบริหารสวนตําบลบาง
                       ครก และมีกลุมเปาหมายหลัก ไดแก ผูปกครองเด็ก ตัวแทนประชาชนในแตละหมู และคณะกรรมการ
                       ศูนยเด็ก ซึ่งไดเริ่มโครงการตั้งแตวันที่ 5 กรกฎาคม 2564 ถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 2564

                                     2) ผลการติดตามโครงการ องคการบริหารสวนตําบลไดจัดใหมีการสัมภาษณ
                       กรรมการศูนยเด็กเล็ก สัมภาษณผูปกครอง และสนทนากลุมยอยกับครูผูสอนซึ่งผลการดําเนินงาน
                       ดังกลาวพบวา

                                            (2.1) ในดานสถานที่ จุดเดนของศูนยพัฒนาเด็กเล็ก คือ (1) ที่ตั้งของศูนย
                       พัฒนาเด็กเล็กมีความเหมาะสม ดวยตั้งอยูบริเวณพื้นที่ที่อยูใกลกับที่ทําการองคการบริหารสวนตําบล
                       ทําใหอยูใกลกับเจาหนาที่ การดูแลทําไดงาย (2) ที่ตั้งของศูนยสะดวกตอการเดินทางมาสงเด็กของ
                       ผูปกครอง (3) มีการรวมศูนยเด็กเล็กซึ่งแตเดิมมี 3 ศูนย เปน 1 ศูนย ทําใหดูแลไดงาย และทั่วถึงมาก
                       ขึ้น (4) พื้นที่ของศูนยเหมาะสําหรับการเรียนรูของเด็ก ดวยมีการแบงหองเรียนออกเปน 2 สวน ไดแก

                       “หองนองกับหองพี่” และเมื่อเทียบกับศูนยพัฒนาเด็กเล็กที่อยูในระดับเดียวกันและมีอยูในตําบล
                       นับวาศูนยพัฒนาเด็กเล็กขององคการบริหารสวนตําบลมีสภาพที่ดีกวา (5) มีการพัฒนาสถานที่อยู
                       ตลอดเวลา เชน กําลังสรางสนามเชาวปญญา สําหรับการเรียนรูของเด็ก (6) สถานที่มีความสะอาด มี

                       เครื่องปรับอากาศ และมักจะไดรับคําชมเรื่องสถานที่ และ (7) สถานที่มีความปลอดภัยเมื่อเทียบกับ
                       สถานที่เดิม ดวยแตกอนศูนยฯ เปนอาคารไม มีการเรียนการสอนรวมกันทั้งเด็กใหญเด็กเล็ก ทําใหเกิด
                       ความไมปลอดภัย เกิดการดูแลไมทั่วถึง สวนขอจํากัด จากรายงานผลการประเมินตนเองปการศึกษา
                       2563 พบวา สถานที่ของศูนยที่มีผลประเมินในระดับต่ําที่สุด ไดแก เรื่องของความปลอดภัย

                       โครงสรางตัวอาคารอยูในสิ่งแวดลอมที่ปลอดภัย ไดแก น้ํา และเรื่องการมีพื้นที่ตั้งอยูติดกับถนน
                                            (2.2) ดานบุคลากรของศูนย มีจุดเดน คือ (1) บุคลากรครูมีความเอาใจใส
                       เด็กเปนอยางดี และ (2) มีการฝกอบรมครูอยางสม่ําเสมอ มีการผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันไปอบรม
                       สวนขอจํากัด คือ (1) ยังขาดแผนพัฒนาครูที่สอดคลองกับความตองการ ความเชี่ยวชาญ และทิศ

                       ทางการพัฒนาครูที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาศูนย (2) จํานวนบุคลากรยังไมเพียงพอกับจํานวนเด็ก
                       ดวยเด็กมีหลายวัยที่ตองการการดูแลตางกัน ในปจจุบันแยกไดเพียง 2 หอง (หองใหญ 2 ขวบกับหอง
                       เล็ก 3 ขวบ) (3) ยังขาดทักษะความรูดานไอทีที่ใชในการสอนออนไลน เทคนิคการสอนใหม ๆ และ
                       (4) การไดฝกอบรมยังขาดความตอเนื่องเชน ไปอบรมเพียงครั้งเดียวทําใหยังไมเขาใจ ยังขาดความ

                       ตอเนื่อง โดยมีขอเสนอแนะ คือ (1) พัฒนาศักยภาพของครู พัฒนาเทคนิคการสอนใหกับครู เพื่อให
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126