Page 122 - kpiebook65066
P. 122

55






                       สอดรับกับการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (2) ทักษะความรูดานไอทีที่สอดรับกับการสอนแนวใหม
                       โดยเฉพาะการสอนออนไลน (3) ทําแผนพัฒนาครูเพื่อใหเกิดความตอเนื่องในการฝกอบรม เพื่อใหเกิด
                       ความเชี่ยวชาญในทักษะนั้น ๆ
                                            (2.3) ดานผูปกครอง ขอจํากัด คือ (1) คนในพื้นที่มีคานิยมในการสงเด็กไป

                       เรียนในเมือง แมจะไมมีความจําเปนมากนัก เนื่องจากที่ตั้งของตําบลอยูไมไกลจากตัวเมืองเพชรบุรี
                       มากนัก เด็กที่จบจากโรงเรียนนั้น ๆ มีโอกาสเขาเรียนในโรงเรียนที่มีชื่อเสียงไดงายกวา เชน มีโควตา
                       ในการเขาเรียน หากนําเด็กเขาไปอยูในเขตนั้น ๆ จะทําใหเขาเรียนในระดับประถมศึกษาไดงายกวา
                       มองวาการศึกษาดีกวา โรงเรียนอื่นมีการสอนทักษะภาษาเปนพิเศษ อาทิ ภาษาจีน มีการแขงขันกัน

                       ระหวางผูปกครอง และ (2) ผูปกครองสวนใหญทํางาน ตองหาเชากินค่ํา ทําใหตองปลอยใหเด็กอยูกับ
                       ตากับยาย สงผลใหเกิดปญหาในการเรียนการสอนออนไลน ทําใหรอยละของการเขาชั้นเรียนมีต่ํา
                       อาทิ ศูนยฯ มีเด็ก 37 คน มีที่เขาเรียนประจําเพียง 5 คน ดวยเพราะมีพอแมคอยดูแล นอกเหนือนั้น
                       “เขาๆ ออกๆ” ขณะเดียวกันผูดูแลซึ่งเปนผูสูงอายุไมสามารถชวยเหลือได สําหรับขอเสนอแนะ คือ

                       (1) การเปลี่ยนแปลงคานิยมของผูปกครองดวยการทําความเขาใจ ซึ่งตองใชเวลานานเนื่องจากเปน
                       การเปลี่ยนแปลงความรูสึกของคน (2) การทําขอตกลงกับสถานศึกษาในระดับประถมศึกษาซึ่งเปนที่
                       นิยมของผูปกครอง เพื่อรับเด็กจากศูนยฯ เขาศึกษาตอในระดับประถมศึกษา ขณะเดียวกันก็พูดคุยกัน

                       เรื่องคุณลักษณะที่พึงประสงคของโรงเรียนที่จะรับเด็กเขาเรียน เพื่อที่ศูนยฯ จะสามารถผลิตเด็กให
                       สอดคลองกับความตองการของโรงเรียน (3) ผูปกครองมีสวนสําคัญในพัฒนาการการเรียนรูของเด็ก
                       ตองมีมีความรูดานจิตวิทยาเด็กเพื่อสงเสริมใหเด็กไดเรียนรู ดังนั้นการพัฒนาทักษะของผูปกครองเพื่อ
                       ชวยสงเสริมการเรียนรูของเด็กจึงมีความจําเปน และ (4) การเรียนการสอนสวนหนึ่งอาจเนนใหเด็กมี
                       คุณลักษณะที่พึงประสงคในเรื่องของความเปนระเบียบวินัย ชวยเหลือตัวเองได รูจักการรอ การเขาคิว

                       รูจักการวางตัวในสังคม มีการสวัสดี มีมารยาท เนื่องจากเปนความตองการของผูปกครอง
                                            (2.4) ดานหลักสูตร และสื่อการเรียนการสอน จุดเดน คือ (1) ใชหลักสูตร
                       ปฐมวัยที่ไดมาตรฐาน มีการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร (2) มีอุปกรณ สิ่งอํานวยความสะดวกในการสอน

                       ออนไลนที่เพียงพอครบถวน (3) มีคอมพิวเตอรจํานวนมากที่สามารถพัฒนาทักษะดาน IT ใหกับเด็ก
                       ได และ (4) มีการดูแลในเรื่องอาหารที่ดี มีอาหาร 3-4 มื้อ มีนมให ทําใหพอแมผูปกครองมีความ
                       ไววางใจ สวนขอจํากัด คือ (1) มีการใชหลักสูตรปฐมวัยที่ไดมาตรฐาน แตยังขาดการพัฒนาหลักสูตร
                       พิเศษหลักสูตรเฉพาะ หรือแนวการการสอนเฉพาะที่จะพัฒนาเด็กใหแตกตางจากเด็กที่เรียนใน

                       สถานศึกษาอื่น ๆ เชน เทศบาลเมืองลําพูนนําเอาแนวการสอนแบบเรกจิโอ เอมิเลีย (Reggio Emilia)
                       มาใช (2) แมจะมีการสอนทักษะดานภาษาอังกฤษ แตเปนการสอนทักษะภาษาอังกฤษทั่ว ๆ ไป ยัง
                       ไมไดมุงเนนการพัฒนาทักษะดานนี้ (3) เมื่อเทียบกับสถานศึกษาอื่น ๆ โดยเฉพาะสถานศึกษาในเมือง
                       แลว อุปกรณ สื่อการสอนดานภาษาอังกฤษที่ศูนยฯ มีอยูยังไมเพียงพอตอการเรียนรูของเด็ก (4)

                       ในชวงนี้มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน แตยังไมมีการประเมินประสิทธิภาพการสอนเพื่อนํามาใช
                       ในการวางแผนการสอน (5) ผลประเมินตนเองที่คะแนนต่ํา ไดแก เรื่องของเลนที่มีความปลอดภัย
                       และไดมาตรฐาน ดวยเพราะของเลนสูง/ใหญ ไมสมสวนกับเด็ก ไมปลอดภัย คับแคบ สวน
                       ขอเสนอแนะ คือ (1) การสรางจุดเดนใหกับศูนยฯ เพื่อดึงดูดใหผูปกครองสงบุตรหลานของตนมาเรียน

                       ดวยการเนนทักษะภาษาตางประเทศ ใหกับเด็ก อาทิ การมีครูชาวตางชาติที่เปนเจาของภาษามาสอน
   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126   127