Page 17 - kpiebook65033
P. 17

16  ตัวชี้วัดหลักนิติธรรม



           ต่างๆ เพื่อใช้บังคับกับบุคคลหรือกับสังคม นอกจากนี้ยังอาจมีลักษณะ

           เป็นการให้ความช่วยเหลือ ให้ความสงเคราะห์ หรือให้การสนับสนุน
           การด�าเนินการต่างๆ ของประชาชน


                   หากน�าหลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการจ�ากัด
           อ�านาจรัฐดังที่กล่าวไว้แล้วในหัวข้อที่ 1 มาพิจารณากับการท�าภารกิจ
           ในทางบริหารแล้ว “เกณฑ์” ต่อไปนี้เป็น “เกณฑ์” ที่จะน�ามาใช้ภารกิจของ

           ฝ่ายบริหาร คือ หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการปฏิบัติงาน
           ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีหลักการที่ส�าคัญ ดังนี้ (1) หลักความผูกพัน

           ต่อกฎหมายขององค์กรของรัฐ (2) หลักความชอบด้วยกฎหมายของ
           การกระท�าของฝ่ายตุลาการและฝ่ายปกครอง (3) หลักความรับผิดของรัฐ




           2.3 ภารกิจในทางตุลาการ หรือภารกิจในการพิพากษาอรรถคดี
           องค์กรที่ใช้อ�านาจนี้คือองค์กรตุลาการ (judicial power) ซึ่งองค์กรตุลาการ
           อาจแบ่งออกเป็นสาขาต่างๆ เช่น ศาลรัฐธรรมนูญ, ศาลยุติธรรม,

           ศาลปกครอง, ศาลทหาร เป็นต้น หากน�าหลักนิติธรรม/นิติรัฐในฐานะที่เป็น
           “เกณฑ์” ในการจ�ากัดอ�านาจรัฐดังที่กล่าวไว้แล้วในหัวข้อที่ 1 มาพิจารณา

           กับการท�าภารกิจในทางตุลาการแล้ว “เกณฑ์” ต่อไปนี้เป็น “เกณฑ์” ที่จะน�า
           มาใช้ภารกิจของฝ่ายตุลาการ คือ


                   2.3.1  หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการจัด

           องค์กรของรัฐ มีหลักการที่ส�าคัญ คือ (1) หลักการแบ่งแยกอ�านาจ
           (2) หลักความเป็นอิสระขององค์กรตุลาการ (3) หลักห้ามมิให้จัดตั้ง

           ศาลพิเศษ
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22