Page 15 - kpiebook65033
P. 15
14 ตัวชี้วัดหลักนิติธรรม
2.1.2 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการจัด
องค์กรของรัฐ มีหลักการที่ส�าคัญ คือ (1) หลักการแบ่งแยกอ�านาจ
(2) หลักความเป็นอิสระขององค์กรตุลาการ (3) หลักห้ามมิให้จัดตั้ง
ศาลพิเศษ
2.1.3 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการคุ้มครอง
สิทธิของประชาชน มีหลักการที่ส�าคัญ ดังนี้ (1) หลักความผูกพัน
โดยตรงต่อสิทธิเสรีภาพขององค์กรผู้ใช้อ�านาจรัฐ (2) หลักการคุ้มครอง
สิทธิเสรีภาพโดยองค์กรตุลาการ (3) หลักความเสมอภาคของบุคคล
และหลักห้ามมิให้เลือกปฏิบัติ (4) หลักการคุ้มครองสิทธิของบุคคล
ในกระบวนพิจารณา (5) หลักความรับผิดของรัฐ
2.1.4 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” เกี่ยวกับ
โทษทางอาญาและความรับผิดทางอาญา มีหลักการที่ส�าคัญ ดังนี้
(1) หลักกฎหมายไม่มีผลย้อนหลัง (2) หลักการห้ามลงโทษซ�้า (3) หลัก
การรับผิดต่อการกระท�าของตนที่ควรแก่การต�าหนิ (4) หลักข้อสันนิษฐาน
เกี่ยวกับความเป็นผู้บริสุทธิ์ (5) หลักการห้ามการบังคับให้กล่าวร้ายตนเอง
(6) หลักการยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่จ�าเลย (7) หลักการคุ้มครอง
ผู้เสียหายในคดีอาญา (8) หลักการชดเชยค่าเสียหายให้แก่ผู้ที่ได้รับ
ความเสียหายจากการกระท�าอันมิชอบของรัฐ
2.1.6 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการตรา
กฎหมาย มีหลักการที่ส�าคัญ ดังนี้ (1) หลักความได้สัดส่วนหรือ
หลักความพอสมควรแก่เหตุ (2) หลักความมั่นคงของกฎหมาย (3) หลักห้าม
มิให้กฎหมายมีผลย้อนหลัง (4) หลักความแน่นอนชัดเจนของกฎหมาย
(5) หลักการคุ้มครองความสุจริตของบุคคล