Page 10 - kpiebook65033
P. 10
9
รัฐธรรมนูญซึ่งเป็นข้อจ�ากัดของการใช้อ�านาจรัฐ หรือเป็นข้อผูกพัน
ของการใช้อ�านาจรัฐทั้งหลาย การใช้อ�านาจรัฐที่ละเมิดหรือฝ่าฝืน
หลักนิติธรรมย่อมส่งผลต่อปัญหาความชอบด้วยกฎหมายของการกระท�า
นั้นๆ (บรรเจิด สิงคะเนติ, 2561)
ในการศึกษาในครั้งนี้จะได้กล่าวถึงประเด็นดังต่อไปนี้
1. หลักนิติธรรมในฐานะ “เกณฑ์” ในการจ�ากัดอ�านาจรัฐ 2. หลักนิติธรรม
ในฐานะเป็นหลักการย่อยของ “หลักธรรมาภิบาล” 3. หลักนิติธรรม
ในฐานะหลักการย่อยของ “หลักธรรมาภิบาล” กับองค์กรฝ่ายปกครอง
หรือองค์กรที่จัดท�าบริการสาธารณะ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. หลักนิติธรรมในฐำนะ “เกณฑ์” ในกำรจ�ำกัด
อ�ำนำจรัฐ
จากการศึกษาสาระส�าคัญของหลักนิติธรรม ผู้ศึกษาได้พิจาณา
สาระส�าคัญของหลักนิติธรรมแล้วอาจแบ่งสาระส�าคัญของหลักนิติธรรม
ได้ 6 กลุ่ม ดังนี้ คือ 1.1 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “หลักความเป็น
กฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ” 1.2 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์”
ในการจัดองค์กรของรัฐ 1.3 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการ
คุ้มครองสิทธิของประชาชน 1.4 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์”
ในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ 1.5 หลักนิติธรรมในฐานะ
ที่เป็น “เกณฑ์” เกี่ยวกับโทษทางอาญาและความรับผิดทางอาญา
1.6 หลักนิติธรรมในฐานะที่เป็น “เกณฑ์” ในการตรากฎหมาย โดยมี
รายละเอียด ดังนี้ (บรรเจิด สิงคะเนติ, 2561)