Page 217 - kpiebook65022
P. 217

ส าหรับการวิเคราะห์ผลตามกรอบการศึกษา โดยเน้นข้อค้นพบงานวิจัยไทย สรุปดังภาพ 6.1


                    งานวิจัยการเมือง
                  สิ่งแวดล้อม: ส่วนใหญ่     ประเด็นสิ่งแวดล้อม: วิกฤติเร่งด่วน ได้แก่ ประเด็นมลพิษ

                   เป็นประเด็นยุติธรรม        ทรัพยากรธรรมชาติ ความยั่งยืน และความยุติธรรม

                  สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรฯ     สิ่งแวดล้อม นอกนั้นเป็นประเด็นสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง
                  และมลพิษ โดยประเด็น      ระบบนิเวศ พลังงาน ภัยพิบัติสิ่งแวดล้อม และเกษตรกรรมฯ   แนวทางไปสู่การ

                 งานวิจัยแต่ละช่วงมัก                                                           พัฒนาที่ยั่งยืน
                  เกิดขึ้นหลังจากเกิดกรณี    การตัดสินใจทางนโยบาย:                           ร่วมกัน: แนวทางสู่

                  ปัญหาหรือหลังประเด็น     - ภาครัฐ มีบทบาทเป็นตัวแสดงหนึ่งในเวทีระหว่างประเทศ  ความยั่งยืนร่วมกัน

                   ส าคัญทางสิ่งแวดล้อม    และเป็นหลักในการตัดสินใจทางนโยบายของประเทศ การ     ขึ้นกับเงื่อนส าคัญ

                  เกิดขึ้นแล้ว ซึ่งอาจไม่ทัน  ตัดสินใจอย่างไรขึ้นกับอิทธิพลจากต่างประเทศ ภาคธุรกิจ   คือ โครงสร้าง

                 การณ์ต่อการสนับสนุนเชิง   องค์กรสิ่งแวดล้อม                                    การเมืองด้าน

                  ความรู้ต่อการเคลื่อนไหว  - ภาคประชาชน มีบทบาทเชิงเคลื่อนไหวคัดค้านนโยบาย    สิ่งแวดล้อมที่ยังเป็น
                  จริงของตัวแสดงต่าง ๆ     หรือโครงการของรัฐ จนบางโครงการหยุดชะงักหรือไม่     แบบรวบอ านาจ ซึ่ง
                                           สามารถด าเนินนโยบายต่อได้ หลังรัฐธรรมนูญ 2540 ใช้  จ าเป็นต้องมีกระจาย
                                           กลไกทางกฎหมายมากขึ้น                              อ านาจ เพื่อให้แต่ละ

                 การเคลื่อนไหวและ          - พรรคการเมือง บทบาทไม่เด่นชัดในการน าประเด็น      ภาคส่วน โดยเฉพาะ
                 อ านาจของตัวแสดง:         สิ่งแวดล้อมเข้าสู่รัฐสภาหรือเสนอนโยบายสิ่งแวดล้อม  อย่างยิ่งประชาชนได้
                 รัฐส่วนกลางเป็นตัวแสดง    ระหว่างหาเสียง
                  หลักตั้งแต่อดีต ส่งผลต่อ  - ประชาสังคม บทบาทและอ านาจขึ้นกับการสนับสนุนจาก  มีโอกาสเข้าถึงการ

                  วัฒนธรรมการเมืองไทย      ประชาชนและสถานการณ์สิ่งแวดล้อมขณะนั้น             ตัดสินใจทางนโยบาย
                  เป็นแบบรวบอ านาจ         - ธุรกิจ เข้าถึงการตัดสินใจได้มากกว่าประชาสังคมและ  สิ่งแวดล้อมมากขึ้น
                  ภายใต้ระบอบ              ประชาชนเพราะมีตัวแทนที่ชัดเจน
                  ประชาธิปไตย ภาคธุรกิจ      การด าเนินการตามนโยบาย:
                  และนักการเมือง เป็นผู้มี  - ภาครัฐฝ่ายบริหาร การด าเนินงานยังขาดความต่อเนื่องและ

                  อ านาจถัดมาในโครงสร้าง   การบูรณาการ ฝ่ายตุลาการ มีบทบาทสร้างบรรทัดฐานจาก
                  รวมอ านาจนี้ ภาค         ค าพิพากษา แต่ผลไปสู่การบังคับใช้ได้จริงหรือไม่ขึ้นกับ
                  ประชาชนเป็นเพียงผู้      กฎหมายและหน่วยปฏิบัติ ฝ่ายนิติบัญญัติ ยังขาดกฎหมาย

                  ปฏิบัติตามนโยบาย จน      บางฉบับที่จ าเป็นเพื่อเป็นแนวปฏิบัติด้านสิ่งแวดล้อมของ
                  เมื่อ พ.ศ.2535-          เจ้าหน้าที่ อปท. จัดการทรัพยากรในระดับพื้นที่แต่ยังมีข้อ
                                           กังขาด้านศักยภาพของบาง อปท.
                  รัฐธรรมนูญ 2540          - ประชาสังคม มีความสามารถทางวิชาการและเทคโนโลยีที่

                  บทบาทภาคประชาสังคม       สามารถสนับสนุนประชาชนทั่วไปให้มีส่วนร่วมได้ดีขึ้น
                  และประชาชนชัดเจนขึ้น     - ประชาชน เป็นทั้งผู้ปฏิบัติตามนโยบายรัฐและผู้คัดค้าน
                  โดยมีสิทธิและมีส่วนร่วม  รณรงค์ในเรื่องที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ
                  ในสิ่งแวดล้อมตาม         ชีวิตที่ดีของเขา

                  เจตนารมย์รัฐธรรมนูญ

               ภาพ 6.1 สรุปผลการศึกษาและวิเคราะห์ผลตามกรอบแนวคิดการศึกษา

                 ได้แก่ พรรคการเมือง                       204
                  นักการเมือง ข้าราชการ
                 ฝ่ายตุลาการ กลุ่มธุรกิจ
                 สื่อมวลชน และประชา
   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221   222