Page 221 - kpiebook65022
P. 221

3) ทรัพยากรธรรมชาติ จากข้อค้นพบ ทรัพยากรที่ก าลังเข้าสู่ภาวะวิกฤตคือป่าไม้และ
               ทรัพยากรน้ า ส าหรับทรัพยากรป่าไม้มีความท้าทายส าคัญเรื่องของคนกับป่าจะอยู่ร่วมกันได้อย่างไร ประกอบ

               กับ มีกฎหมายป่าไม้ฉบับใหม่ พ.ร.บ.ป่าไม้ 2562 จึงควรมีการศึกษาว่าคนอยู่ร่วมกับป่าส่งผลบวกหรือลบ
               เพียงใดต่อความยั่งยืนของทรัพยากร และภายใต้กฎหมายใหม่นี้มีกลไกที่เอื้อให้คนอยู่ร่วมกับป่าอย่างไรบ้าง
               ส าหรับทรัพยากรน้ ามีกฎหมายที่มีความส าคัญอย่าง พ.ร.บ.ทรัพยากรน้ าแห่งชาติ พ.ศ.2561 ที่มีเป้าหมาย
               บูรณาการการบริหารจัดการน้ าของประเทศ จึงควรมีการศึกษาในเชิงค้นหาผลิตภาพในการใช้น้ าของภาคส่วน

               ต่าง ๆ ทั้งภาคอุปโภคบริโภค การเกษตร อุตสาหกรรม การคมนาคม ระบบนิเวศ การท่องเที่ยว ฯลฯ เพื่อ
               ก าหนดนโยบายน้ าในภาพรวมของประเทศได้อย่างสอดคล้องกับความต้องการของแต่ละภาคส่วน

                            4) ความยั่งยืน จากข้อค้นพบความยั่งยืนในประเทศไทยได้ถูกก าหนดขึ้นในระดับนโยบายแต่ก็
               เป็นเพียงวาทกรรม อย่างไรก็ดี ประเทศไทยมีกลไกคณะกรรมการพัฒนาที่ยั่งยืนตามระเบียบส านัก
               นายกรัฐมนตรี (อ้างถึงแล้วในบทที่ 2) ซึ่ง Breuer et al. (2019) ได้ท าการส ารวจกลไกการพัฒนาที่ยั่งยืนใน

               หลายประเทศ และพบว่ามีรูปแบบที่หลากหลายกันไป แต่ยังไม่ได้มีการวิเคราะห์ผลการด าเนินงานหรือผลต่อ
               การเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของกลไกเหล่านั้น จึงเป็นที่น่าสนใจและน่าจะศึกษาต่อว่าในเชิงสถาบัน
               ที่มีอยู่เกี่ยวกับการจัดการสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย เป็นรูปแบบการขับเคลื่อนที่เหมาะสมเพียงพอหรือไม่

               อย่างไรในการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนในประเทศไทย มีแนวทางอย่างไรในการขับเคลื่อน
               หรือเชื่อมโยงนโยบายความยั่งยืนไปสู่ระดับพื้นที่ เช่นที่ Breuer et al. (2019) 016) เห็นว่าสถาบันท้องถิ่นใน
               หลายประเทศยังขาดบทบาทเข้าร่วมตัดสินใจในนโยบาย หรือมีข้อสังเกตว่าองค์กรเชิงสถาบันที่ขับเคลื่อนการ
               พัฒนาที่ยั่งยืนในแต่ละประเทศนั้นได้ท าให้เกิดผลการเปลี่ยนแปลงหรือไม่เพียงใด

                            งานวิจัยในอนาคตเชิงวิธีการ

                            ผู้วิจัยขอน าเสนอในส่วนที่ควรจะมีหัวข้อวิจัยเกี่ยวกับการเมืองสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่าง
               ยั่งยืน ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ยังไม่อาจด าเนินการได้ ดังนี้


                            1)  งานวิจัยนี้ศึกษาการเมืองสิ่งแวดล้อมจากกลุ่มเป้าหมายที่มาจากภาครัฐ ประชาสังคม และ
               วิชาการ เป็นหลัก จึงควรมีการศึกษาการเมืองสิ่งแวดล้อมเพื่อไปสู่เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนในมุมมอง
               ของตัวแสดงอื่น เช่น ภาคธุรกิจ พรรคการเมือง เป็นต้น ว่าการเมืองสิ่งแวดล้อมของประเทศไทยที่ด าเนินการ
               อยู่นั้นได้ตอบโจทย์เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนแล้วหรือไม่ อย่างไร และต้องด าเนินการอย่างไรต่อไป
               เพื่อให้การศึกษามีมุมมองที่ครบถ้วนจากกลุ่มที่หลากหลายมากขึ้น


                            2)  ฐานข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยนี้ เป็นการสืบค้นที่จ ากัดบางฐานข้อมูลเพื่อก าหนดขอบเขตใน
               การวิจัย บทวิเคราะห์เกี่ยวกับช่องว่างของประเด็นการศึกษาเรื่องการเมืองสิ่งแวดล้อม จึงเป็นไปตามจ านวน
               และเอกสารที่ค้นพบ จากฐานข้อมูลตามขอบเขตการวิจัยนี้เท่านั้น หากจะมีการศึกษาต่อไปในอนาคต
               อาจขยายฐานข้อมูลที่ใช้ศึกษา ซึ่งอาจท าให้มีข้อค้นพบที่แตกต่างจากงานวิจัยนี้ก็ได้

                            3)  งานวิจัยนี้ศึกษาเอกสารเพื่อส ารวจองค์ความรู้การเมืองสิ่งแวดล้อม จากงานวิจัยเป็นหลัก

               เพื่อทบทวนว่ามีการวิจัยในเรื่องใดและอย่างไรในเชิงการเมืองสิ่งแวดล้อมบ้าง งานวิจัยในอนาคตจึงควรมีการ
               ทบทวนการเมืองสิ่งแวดล้อมจากแหล่งข้อมูลอื่นที่สะท้อนนโยบายและการปฏิบัติจริง ได้แก่ เวทีวิชาการด้าน
               สิ่งแวดล้อมในแต่ละรอบปี มีการน าเสนอประเด็นอะไรและมีทางออกอย่างไรบ้าง หรือแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
               และสังคมแห่งชาติ ตลอดจนนโยบายและแผนงานของหน่วยงานรัฐด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อทบทวนว่านโยบาย

               และแผนเหล่านั้นในแต่ละช่วงของรัฐบาล ให้ความส าคัญกับประเด็นสิ่งแวดล้อมหรือไม่เพียงใด เมื่อเทียบกับ



                                                           208
   216   217   218   219   220   221   222   223   224   225   226