Page 56 - kpiebook63021
P. 56
ผลสำรวจดังกล่าวได้ชี้ให้เห นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยส่วนให ่มีระดับความพร้อม
การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ S a t t ที่มีความโดดเด่นมากที่สุด
เนื่องจากการบริหารจัดการภาครัฐเป นภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกประเภท มีความคุ้นชินและ
เป นภารกิจที่ต้องดำเนินการเป นประจำ จ งทำให้มีความพร้อมในการพัฒนาระบบค่อนข้างมาก แล้วหาก รายงานสถานการณ์
ถามต่อไปว่า โครงการหรือกิจกรรมที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดำเนินการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้าน
การบริหารจัดการภาครัฐนั้นมีอะไรบ้าง
ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห นข้อมูลที่น่าสนใจ อันสะท้อนให้เห นถ งการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้าน
การบริหารจัดการภาครัฐ S a t t ได้อย่างเป นรูป รรม โดยมีรูปแบบโครงการหรือกิจกรรม
ที่มีความหลากหลาย หากแต่มีโครงการหรือกิจกรรมหน ่งที่ได้รับความนิยมในการดำเนินการอย่างมาก
นั่นก คือ รงการ ัดตั ง ูน บริการร่ ม ที่เราเรียกกันคุ้นเคยว่า St p S ic นั่นเอง เพื่อให้เป น
ศูนย์บริการประชาชนรับแจ้งเรื่องราวร้องเรียน หรือติดต่อขอรับบริการได้ในจุดเดียว ผลสำรวจสะท้อน
ให้เห นว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่ให้ความสำคั กับการจัดตั้งศูนย์บริการประชาชนจุดเดียว
เบ ดเสร จ ควบคู่ไปกับการพัฒนาแอพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟนที่ให้ประชาชนสามารถเข้ามาใช้บริการสอบถาม
ข้อมูล หรือร้องเรียนผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ได้ในจุดเดียว จากผลสำรวจมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่ได้ดำเนินโครงการหรือกิจกรรมนี้มากถ ง 44 แห่ง โดยมีตัวอย่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้ดำเนิน
โครงการหรือกิจกรรมดังกล่าวให้เห นตัวอย่างอย่างเป นรูป รรม ไม่ว่าจะเป นเทศบาลเมืองแม่เหียะ
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และเทศบาลนครยะลา อำเภอเมือง จังหวัดยะลา ซ ่งได้ดำเนินโครงการ
ศูนย์บริการประชาชน โดยมีรายละเอียด ดังนี้ ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สถาบันพระปกเก ้า 5