Page 55 - kpiebook63021
P. 55

5.1    a t          t

            รายงานสถานการณ์   ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห นอย่างชัดเจนว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ หรือ S a t
                            การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในประเทศไทยได้มีการพัฒนาเมืองในหลายมิติด้วยกัน หากแต่



                              t เป นมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความก้าวหน้าและโดดเด่น
                     มากที่สุด  ซ ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่ได้นำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา

                     ระบบบริการประชาชน การเพิ่มช่องทางการเข้าถ งบริการภาครัฐ รวมถ งการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพ
                     การทำงานภายในองค์กรให้มีประสิท ิภาพมากข ้น


                            ผลการสำรวจได้สะท้อนให้เห นว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีผลการสำรวจการพัฒนา
            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                     เมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ  S a t          t  ที่มีความโดดเด่นกว่าองค์กรปกครอง
                     ส่วนท้องถิ่นประเภทอื่น โดยมีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง

                     มีช่วงคะแนนเฉลี่ยสูงถ งร้อยละ 64.56 รองลงมาเป นเทศบาลนครและองค์การบริหารส่วนตำบลที่มีระดับ
                     ความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูงเช่นเดียวกัน มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่

                     ร้อยละ 63.61 และ 58.85 ตามลำดับ ขณะที่เทศบาลเมืองและเทศบาลตำบลนั้นได้มีระดับความพร้อม
                     การพัฒนาเมืองอัจฉริยะในด้านการบริหารจัดการภาครัฐที่ลดหลั่นลงมาอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีช่วง
                     คะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 55.77 และ 54.24 ตามลำดับ ดังแผนภาพที่แสดงต่อไปนี้


                     แ น า ท        แสดง า ร มร ดับ  าม ร้อมการ ั นา ม องอั  ริ  ด้านการบริหาร ัดการ า รั
































                     ท  มา  วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-54.















                 44   สถาบันพระปกเก ้า
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60