Page 53 - kpiebook63021
P. 53
คำตอบก คือ ผลการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะได้ชี้ให้เห นว่า การพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ใน ท บาลน รม าม ดด ด่นมากท สุด โดยมีความพร้อมในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างสูง
รายงานสถานการณ์ มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 60.38 รองลงมาคือ เทศบาลเมืองมีความพร้อมอยู่ในระดับปานกลาง
มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 50.31 ถัดมาเป นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความพร้อมอยู่ในระดับ
ปานกลางค่อนข้างต่ำจำนวน 3 ประเภทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น คือ เทศบาลตำบล มีช่วงคะแนนเฉลี่ย
อยู่ที่ร้อยละ 42.07, องค์การบริหารส่วนจังหวัด มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 40.24 และสุดท้ายเป น
องค์การบริหารส่วนตำบล มีช่วงคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 38.82 ตามลำดับ ดังแผนภาพต่อไปนี้
แ น า ท แสดง า ร มการ ั นา ม องอั ริ ำแนกตาม ร ทอง กร ก รองส่ นท้อง ิ น
ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 43-45.
ผลสำรวจข้างต้นนี้ยิ่งเป นข้อยืนยันสมมติฐานที่ ขนาดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความ
สัมพัน ์กับการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอย่างมีนัยสำคั ซ ่งเหตุผลก เพราะว่า ในประเทศไทยนั้นมีองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นอยู่เป นจำนวนมาก โดยส่วนให ่นั้นเป นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีขนาดเล ก
มีจำนวนประชากรน้อยกว่า 10,000 คน บางแห่งก มีขนาดพื้นที่เล ก มิหนำซ้ำยังมีท้องถิ่นอีกจำนวนมาก
ที่มีงบประมาณประเภทรายได้รวมต่ำกว่า 50 ล้านบาท ซ ่งข้อดีประการหน ่งของการแบ่งประเภทองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีขนาดเล กลง ก เพื่อประโยชน์ในด้านการบริหารจัดการพื้นที่ที่มีความคล่องตัว เข้าถ ง
ปั หาในพื้นที่จนสามารถจัดบริการสา ารณะได้ตรงตามความต้องการของประชาชน
แต่อีกด้านหน ่งนั้น การแบ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีขนาดเล กจำนวนมาก ย่อมมี
ข้อจำกัดอันส่งผลให้เกิดต้นทุนการประหยัดต่อขนาด หรือที่เราเรียกว่า c Sca ในการพัฒนา
พื้นที่ขนาดเล กในสัดส่วนที่สูงข ้น ทำให้การจัดบริการสา ารณะและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดให ่
มีราคาสูงและย่อมเป นไปได้ยาก จ งส่งผลให้ภารกิจอำนาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล ก
ส่วนให ่จ งเป นเพียงการจัดบริการสา ารณะขนาดเล ก ไม่ซับซ้อนมากนัก และมุ่งตอบสนองเพียง
ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ของตนเองเท่านั้น นอกจากนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขนาดเล ก
ยังประสบปั หากับข้อจำกัดในการรวมกลุ่มเพื่อจัดบริการสา ารณะ ทั้งในแง่ของอำนาจในการต่อรองและ
2 สถาบันพระปกเก ้า