Page 49 - kpiebook63021
P. 49

า ต  ันออก    ง หน อ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                     เป นภูมิภาคที่มีความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะเป นลำดับที่สี่ โดยภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีระดับ
            รายงานสถานการณ์   ความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ


                     40.35 สำหรับมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มีการพัฒนาอย่างโดดเด่นมากที่สุด 3 ลำดับแรกในภาค
                     ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ เมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ  S a t          t  รองลงมา

                     คือ เมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต  S a t  i i    และเมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพ  S a t   a thca
                     ซ ่งแต่ละมิติมีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 57.75, 54.20 และ 48.63 ตามลำดับ

                     แ น า ท        แสดง  าม ร้อมการ ั นา ม องอั  ริ   น า ต  ันออก    ง หน อ
            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น































                     ท  มา  วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 74-78.


                                 า ต  ันตก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันตก เป นภูมิภาคที่มีความ
                     โดดเด่นของการพัฒนาเมืองอัจฉริยะรองจากอันดับสุดท้าย โดยภาคตะวันตกมีระดับความพร้อมการพัฒนา

                     เมืองอัจฉริยะในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 40.15 สำหรับมิติ
                     การพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มีการพัฒนาอย่างโดดเด่นมากที่สุด 3 ลำดับแรกในภาคตะวันตก ได้แก่
                     เมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ  S a t          t  รองลงมาคือ เมืองอัจฉริยะ

                     ด้านคุณภาพชีวิต  S a t  i i    และเมืองอัจฉริยะด้านสุขภาพ  S a t   a thca    ซ ่งแต่ละมิติมีค่า
                     คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 63.47, 57.47 และ 46.05 ตามลำดับ


















                 38   สถาบันพระปกเก ้า
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54