Page 46 - kpiebook63021
P. 46
แ น า ท แสดง าม ร้อม นการ ั นา ม องอั ริ ำแนกตาม ูมิ า รายงานสถานการณ์
ท มา วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 74-78.
ผลการสำรวจได้ชี้ให้เห นว่า มิติความพร้อมในการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคนั้นเป นไปในทิศทางเดียวกัน หรือกล่าวอีกนัยยะหน ่งคือ องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคมีระดับความพร้อมในการพัฒนาที่ไม่ค่อยแตกต่างกันมากนัก โดยมี ส่วนท ่ บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ผลการสำรวจในภาพรวมอยู่ที่ระดับปานกลางค่อนข้างต่ำทั้งสิ้น ยิ่งไปกว่านั้นผลการสำรวจยังพบว่า องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคมีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการ
ภาครัฐ S a t t เป นมิติที่โดดเด่นและมีคะแนนสูงที่สุด โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับ
ปานกลางค่อนข้างสูง รองลงมาเป นมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต S a t i i ซ ่งมี
ค่าคะแนนเฉลี่ยตั้งแต่ระดับปานกลางไปจนถ งปานกลางค่อนข้างสูง
ขณะที่ในอีกด้านหน ่งนั้นกลับพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคมีมิติการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะที่อยู่ลำดับท้ายสุดที่เหมือนกัน 3 ลำดับในทุกภูมิภาค นั่นคือ มิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ
ด้านการคมนาคม S a t i it เมืองอัจฉริยะด้านพลังงาน S a t และเมืองอัจฉริยะ
ด้านการศ กษา S a t cati ลำดับต่อไปจะเป นการสำรวจลงไปในรายละเอียดขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในแต่ละภูมิภาค
า ต ันออก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภาคตะวันออกมีความพร้อมการพัฒนา
เมืองอัจฉริยะที่โดดเด่นมากกว่าภูมิภาคอื่น โดยมีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในภาพรวม
อยู่ที่ระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 42.57 ซ ่งมิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะที่มี
การพัฒนาอย่างโดดเด่นมากที่สุด 3 ลำดับแรกขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออก ได้แก่
มิติการพัฒนาเมืองอัจฉริยะด้านการบริหารจัดการภาครัฐ S a t t รองลงมาคือ
เมืองอัจฉริยะด้านคุณภาพชีวิต และเมืองอัจฉริยะด้านเศรษฐกิจ S a t c ซ ่งแต่ละมิติมีค่า
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 62.07, 55.71 และ 46.83 ตามลำดับ ขณะที่มิติที่มีการพัฒนาต่ำสุดนั้น คือ มิติเมือง
สถาบันพระปกเก ้า 5