Page 42 - kpiebook63021
P. 42

นอกจากนี้ข้อมูลจากแบบสอบถามที่ได้รับตอบกลับมานั้นยังสามารถจำแนกความถี่
                        ตามภูมิภาคที่ตั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยแบ่งออกเป น 6 ภูมิภาค เรียงลำดับแบบสอบถาม
                        ที่ได้รับตอบกลับจากมากไปน้อย คือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคใต้ ภาคตะวันออก

                        และภาคตะวันตก โดยคิดเป นร้อยละ 33.80, 21.50, 19.10, 15.30, 5.90, และ 4.50 ของแบบสอบถาม           รายงานสถานการณ์
                        ที่ได้รับการตอบกลับทั้งหมดตามลำดับ ดังแผนภาพต่อไปนี้


                        แ น า ท       แสดงร้อ ล ของแบบสอบ ามท   ด้รับการตอบกลับ  ำแนกตาม ูมิ า
































                        ท  มา  วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า, รายงานสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะ (ฉบับสมบูรณ์), หน้า 14.   ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


                                  จากนั้นผู้เขียนจ งลองนำข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการกระจายตัวของประชากร มาแบ่งเป นช่วง
                        ประชากรออกเป น 5 ช่วง ได้แก่ ช่วงประชากรไม่เกิน 10,000 คน, ประชากรตั้งแต่ 10,000-20,000 คน,
                        ประชากรตั้งแต่ 20,001-30,000 คน, ประชากรตั้งแต่ 30,001-100,000 คน และประชากรมากกว่า

                        100,000 คน เพื่อดูการกระจายตัวของกลุ่มประชากรในแต่ละประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                        พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนให ่มีประชากรในพื้นที่อยู่ในช่วงประชากรตั้งแต่ 10,001-20,000 คน

                        มากที่สุด หรือคิดเป นร้อยละ 29.50 รองลงมาคือ ช่วงประชากรไม่เกิน 10,000 คน คิดเป นร้อยละ 29.00
                        ถัดมาคือประชากรตั้งแต่ 20,001-30,000 คน คิดเป นร้อยละ 20.10 ตามลำดับ























                                                                                                 สถาบันพระปกเก ้า
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47