Page 45 - kpiebook63021
P. 45

ก่อนอื่นผู้เขียนต้องขออ ิบายการแบ่งภูมิภาคในการสำรวจการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กร
                     ปกครองส่วนท้องถิ่นเสียก่อน เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจลักษณะเฉพาะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
            รายงานสถานการณ์   ในแต่ละพื้นที่ได้ชัดเจนยิ่งข ้น ซ ่งการสำรวจครั้งนี้ได้ย ดตามเกณ ์การแบ่งภูมิภาคของคณะกรรมการ


                     พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ได้มีข้อเสนอให้ใช้เกณ ์การแบ่งภูมิภาคตามลักษณะภูมิประเทศ
                     เป นสำคั  นอกจากนี้ยังใช้ลักษณะทางภูมิอากาศ วัฒน รรม ภาษา และความเป นอยู่ของผู้คนในแต่ละ

                     ท้องถิ่นมาเป นส่วนประกอบในการพิจารณาการแบ่งภูมิภาคนี้ด้วย ซ ่งแบ่งออกเป น 6 ภูมิภาค ดังนี้

                               ูมิ า                                   รา ช  อ ังห ัด

                      า  หน อ                  เชียงราย น่าน พะเยา เชียงใหม่ แม่ ่องสอน แพร่ ลำปาง ลำพูน อุตรดิตถ์
            ส่วนท ่   บทสำรวจว่า ้วยการพัฒนาเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                                               นครสวรรค์ พิจิตร ตาก เพชรบูรณ์ พิษณุโลก สุโขทัย กำแพงเพชร และ
                                               อุทัย านี

                      า กลาง                   กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นนทบุรี ปทุม านี พระนครศรีอยุ ยา ลพบุรี
                                               สิงห์บุรี สระบุรี และอ่างทอง

                      า ต  ันออก    ง หน อ     หนองคาย นครพนม สกลนคร อุดร านี หนองบัวลำภู เลย มุกดาหาร

                                               กา สิน ุ์ ขอนแก่น อำนาจเจริ  ยโส ร ร้อยเอ ด มหาสารคาม ชัยภูมิ
                                               นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราช านี และบ งกา

                      า ต  ันออก               จันทบุรี ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบุรี ระยอง

                                               สมุทรปราการ และสระแก้ว

                      า ต  ันตก                กา จนบุรี นครปฐม ประจวบคีรีขัน ์ ราชบุรี เพชรบุรี สมุทรสงคราม
                                               สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี


                      า  ต้                    ชุมพร ระนอง สุราษ ร์ านี นครศรี รรมราช กระบี่ พังงา ภูเก ต พัทลุง
                                               ตรัง ปัตตานี สงขลา สตูล นรา ิวาส และยะลา


                          การแบ่งภูมิภาคในการสำรวจครั้งนี้จะย ดตามที่ตั้งขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภูมิภาค
                    นั้น  เพื่อดูว่าการพัฒนาเมืองอัจฉริยะในแต่ละภูมิภาคประสบความสำเร จในการพัฒนาและเกิดความพร้อม
                    มากน้อยเพียงใด


                       4.1  ภูมิภาคกั การพัฒนาเม องอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


                            การสำรวจเมืองอัจฉริยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละภูมิภาคนั้น โดยภาพรวมแล้ว
                     มีระดับความพร้อมการพัฒนาเมืองอัจฉริยะอยู่ในระดับปานกลางค่อนข้างต่ำ โดยพบว่าองค์กรปกครอง

                     ส่วนท้องถิ่นใน า ต  ันออกม การ ั นา ม องอั  ริ  ท   ดด ด่นมากท  สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยมากถ งร้อยละ
                     42.57 รองลงมาเป นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภาคกลางที่มีค่าคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 41.27
                     ขณะที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือ, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันตก

                     มีค่าคะแนนเฉลี่ยที่ไม่ค่อยแตกต่างกันมากนัก โดยมีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 40.63, 40.35 และ 40.15
                     ตามลำดับ สุดท้ายเป นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ตั้งอยู่ในภาคใต้ที่มีความโดดเด่นในการพัฒนา

                     เมืองอัจฉริยะน้อยที่สุด มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ 38.58 ตามแผนภาพต่อไปนี้


                 34   สถาบันพระปกเก ้า
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50